อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำไมต้องเร่งรัดการควบคุมวัณโรคต่อไป (2553)
Advertisements

กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
Report การแข่งขัน.
นายนพรุจ ธนาทิพยางกูร
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
TBCM Online.
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
อุทธรณ์,ฎีกา.
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %) 6 อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %) TB ยุทธฯ 1 ลดเสียชีวิต ยุทธฯ 2 ลดขาดยา ยุทธฯ 3พัฒนาการส่งต่อและติดตาม

WHO ตั้งเป้าหมาย End TB ปี 2578 (2035) อัตราป่วย 10 ต่อแสน เป้า End TB อัตราลดเฉลี่ยปัจจุบัน

เป้าหมายการดำเนินการ จะลดผู้ป่วยใหม่ ลดการตายต้อง...90% 90% 90% ปี 2564 90% Of All People with TB ร้อยละ 90 การค้นพบและรักษาผู้ป่วยวัณโรคจากค่าคาดประมาณ 172 :แสน ปชก. (6,089 ราย) (90%) Of The Key Populations ร้อยละ 90 กลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย เข้าถึงการคัดกรอง(CXR) 90% Treatment Success ผู้ป่วยวัณโรคที่เข้าสู่ การรักษาได้รับการติดตามดูแลรักษาต่อเนื่องจนครบ หรือหายร้อยละ 90 ความครอบคลุมการรักษา เป้าหมาย ปี 2561=82.5 % ปี 2558 = 55.5 % ปี 2559 = 53.9 % ปี 2560 = 60.2 % ปี 2561 (10 เดือน) = 50.9 % กลุ่มเสี่ยงเป้าหมายเข้าถึงการคัดกรองด้วย CXR ปี 2560 เป้าหมาย 593,016 ราย ผลงาน 158,147 ราย= 26.7% ปี 2561เป้าหมาย 728,420 ราย ผลงาน 148,032 ราย =20.3 % ความสำเร็จของ การรักษา ปี 2558 = 83.4% ปี 2559 = 83.8 % ปี 2560 (3 ไตรมาส) = 81.4% PA: ปี 2561= 67.4 %

รูปแบบการดำเนินงานควบคุมวัณโรคเขตสุขภาพที่ 2 ย.1 ลดการเสียชีวิต : คัดกรองเชิงรุกวัณโรค Mobile & PACs ตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องมือทีมีความไว ทบทวนการดูแลรักษา death case conference/report/Admit เริ่มรักษา DOT คุณภาพ ผู้ป่วยมารับประทานยาที่ รพสต. จัดลำดับกลุ่มเสี่ยง เสี่ยงสูง CXR ทุกราย พัฒนารูปแบบการสื่อสารความเสี่ยง ย.2 ลดการขาดยา Case management/Self help group/ Line group สร้างเครือข่ายความร่วมมือ NGOชายแดนไทย-พม่า ย.3.พัฒนาการส่งต่อและติดตาม TBCM online ครอบคลุมทุก รพ. รพสต.ร่วมบริหารจัดการคุณภาพยาผู้ป่วย Google Map กำกับติดตามการดำเนินงานผ่าน - EOC/NOCTB - PATB เขต - การบริหารจัดการ (ข้อมูล) - กำกับติดตามระดับอำเภอและจังหวัด - พัฒนาร่วมกับ พชอ. Success Rate

การคัดกรอง โมเดล“Onion model” เขตสุขภาพที่ 2 ปี 2561 คาดประมาณผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ปี 2561 = 6,089 ราย เป้าหมายค้นพบ 82.5 % = 5,021 ผล ค้นพบจำนวน 3,100 ราย ต้องหาเพิ่ม =2,989 ราย ได้รับการรายงาน ไปรับบริการที่คลินิก/รพ.นอก สธ,/รพ.เอกชน ไปรับบริการแต่ไม่ได้รับการวินิจฉัย ได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ถูกรายงาน ไม่เข้าสู่ระบบบริการ 510 คน (ร้อยละ 8.5) 1,020 คน (ร้อยละ 17) 620 คน (ร้อยละ10) 840 คน ( ร้อยละ 13.9) 3,100 คน (ร้อยละ 50.6)

ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคเขตสุขภาพที่ 2 จำแนกรายจังหวัด ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2561 ร้อยละ * ข้อมูลเป้าหมายที่เขตร่วมกับสสจ.กำหนดต้นปีงบประมาณจากฐานข้อมูลในระบบ ข้อมูล TBcm Data Center) ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2561

ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคเขตสุขภาพที่ 2 จำแนกรายกลุ่มเสี่ยง ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2561 ร้อยละ * ข้อมูลเป้าหมายที่เขตร่วมกับสสจ.กำหนดต้นปีงบประมาณจากฐานข้อมูลในระบบ ข้อมูล TBcm Data Center ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2561

ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคพบป่วย เขตสุขภาพที่ 2 จำแนกรายจังหวัด ประชากรทั่วไป คาดประมาณพบป่วย 0.172 % ร้อยละ * ข้อมูลเป้าหมายที่เขตร่วมกับสสจ.กำหนดต้นปีงบประมาณจากฐานข้อมูลในระบบ ข้อมูล TBcm Data Center ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2561

ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคพบป่วย เขตสุขภาพที่ 2 จำแนกรายกลุ่มเสี่ยง ประชากรทั่วไป คาดประมาณพบป่วย 0.172 % ร้อยละ * ข้อมูลเป้าหมายที่เขตร่วมกับสสจ.กำหนดต้นปีงบประมาณจากฐานข้อมูลในระบบ ข้อมูล TBcm Data Center ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2561

ผลลัพธ์ : ความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และ กลับเป็นซ้ำ เขตสุขภาพที่ 2 ข้อมูล10 เดือน ปี 2560-2561 ร้อยละ ปี 2561 KPI >82.5 %

แนวโน้มความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคใหม่และกลับเป็นซ้ำ ปี 2557-2560 (ไตรมาส 1-3/2560) เป้าหมาย ≥85% ร้อยละ พล. อต. KPI ≥85% แหล่งที่มาของข้อมูล TBcm Data Center ข้อมูล ณ วันที่ 10/08/2018

แนวโน้มอัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ปี 2557-2560 (ไตรมาส 1-3-2560) เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 5 ร้อยละ สท พช เขต สท ประเทศ อต ตก KPI<5 แหล่งที่มาของข้อมูล TBcm Data Center ข้อมูล ณ วันที่ 10/08/2018

ผลงาน Death Case Report ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเสียชีวิตขณะรักษาวัณโรคเขตสุขภาพที่ 2 N=273 (1 รายมีหลายปัจจัย)

แนวโน้มอัตราการขาดยาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ปี 2557-2560 (ไตรมาส 1-3-2560) เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 3 ร้อยละ ตก KPI<3 เขต อต แหล่งที่มาของข้อมูล TBcm Data Center ข้อมูล ณ วันที่ 10/08/2018

ผลลัพธ์ความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ไตรมาส 1/2561 ข้อมูล ณ วันที่ 10 สค 2561 ร้อยละ KPI >85 % แหล่งที่มาของข้อมูล TBcm Data Center) ข้อมูล ณ วันที่ 10/08/2018

ผลลัพธ์ความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ไตรมาส 1/2560 ณ 31 สิงหาคม 2560 และ 1/2561 ณ 31 สิงหาคม 2561 ร้อยละ KPI >85 % แหล่งที่มาของข้อมูล TBcm Data Center) ข้อมูล ณ วันที่ 10/08/2018

ข้อชื่นชม อ.วังเจ้า จ.ตาก อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก จ.พิษณุโลก การสอบสวนและควบคุมโรควัณโรคดื้อยาในการนำผู้สัมผัส ร่วมบ้าน/ ผู้สัมผัสในหมู่บ้านมา CXR ได้ครบถ้วน อ.วังเจ้า จ.ตาก อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก DOT Model รพสต. อำเภอบางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก ใช้ NOC-TB เป็นเครื่องมือกำกับติดตาม อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์ ใช้งบ อปท.คัดกรองเชิงรุก รูปแบบการ พัฒนาการประชาสัมพันธ์ชุมชนร่วมการคัดกรอง และการบูรณาการ EOC/NOC-TB อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ อ.น้ำปาด จ.อุตรดิตถ์ TB Clinic Learning Center อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์ การคัดกรองวัณโรค

ข้อเสนอแนะ เพิ่มการคัดกรองในกลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้สูงอายุที่มีโรคร่วม และกลุ่มเอชไอวี (จัดทำทะเบียนรายชื่อ CXR ส่งตรวจ Xpert) และเพิ่มการบูรณาการงานที่เป็นประชากรกลุ่มเสี่ยงวัณโรค เช่น NCD HIV ค้นหาผู้ป่วยที่ยังไม่เข้าสู่ระบบการรักษา(รักษาแต่ไม่รายงาน, มารับบริการแต่ไม่ได้วินิจฉัย,รักษาหน่วยงานอื่นและกลุ่มที่ไม่เข้าสู่ระบบบริการผ่านการสื่อสารความเสี่ยง เพิ่มการดูแลแบบมีผู้ดูแลการกำกับการกินยาหรือการมีส่วนร่วมของ รพสต.