สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introductory to Numerical Analysis การวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น
Advertisements

ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
Structural, Physical and Chemical properties of Grains
การพิมพ์ฉลากยาโดยใช้โปรแกรมJHCIS
Mathematics for computing I
Arithmetic Instruction
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
Visual Basic บทที่ 1.
MAT 231: คณิตศาสตร์ไม่ต่อเนื่อง (4) ความสัมพันธ์ (Relations)
Component-Oriented Programming with C#
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย. เมตริกซ์ (Matrices) เมตริกซ์ คือ การจัดเรียง จำนวนให้อยู่ในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งประกอบด้วย แถว (Row) และ หลัก (Column)
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
การแยกตัวประกอบพหุนาม
Certification Authority
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Factorisation method. We will chake the answer Practice multiplication Commutative Distributive Addition Assosiative multiplication.
CHAPTER 2 Operators.
Operators & Expression ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. Arithmetic Operators OperationOperatorExample Value of Sum before Value of sum after Multiply *sum = sum * 2;
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
305221, Computer Electrical Circuit Analysis การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าทาง คอมพิวเตอร์ 3(2-3-6) ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คมกริช มาเที่ยง สัปดาห์ที่ 11 AC.
Timed Math Quiz. โปรแกรมสุ่มคำนวณเลขแข่งกับ เวลา.
The Multiple Document Interface (MDI) การประสานเอกสาร หลายรูปแบบ.
บทที่ 5 เริ่มต้นใช้งาน Dreamweavever CS5
สมศักดิ์ อาภาศรีทองสกุล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
5. ของแข็ง (Solid) ลักษณะทั่วไปของของแข็ง
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
กรด-เบส Acid-Base.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Piyadanai Pachanapan, Electrical System Design, EE&CPE, NU
(Introduction to Soil Science)
สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ __________________________________________________________________________________________________________________________________________.
MATRIX จัดทำโดย น.ส. ปิยะนุช เจริญพืช เลขที่ 9
MATLAB Week 2.
การวิเคราะห์การถดถอย และสหสัมพันธ์อย่างง่าย
Soil Fertility and Plant Nutrition
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
กระบวนการปรับบรรทัดฐาน Normalization Process
DOM Document Object Model.
นางสาวเพ็ญศรี ท่องวิถี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
บทที่ 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับ ความรับผิดละเมิด
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์
อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม
ศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซด์นี้...
วันที่ ๒๔ -๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้
สายรัดห่วงใยลด CA-UTI
ติว ม. 6 วันที่ 15 ก.ค 2558.
บทที่ 2 การวัด.
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
สมบัติของเลขยกกำลัง (Properties of Exponent)
บทที่ 4 การประเมินคุณค่าทรัพยากรสารสนเทศ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม 2562
หลักการนับพื้นฐาน การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่ สัมประสิทธิ์ทวินาม
คลินิกอาชีวเวชศาสตร์
E-SERVICE.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 3 การประยุกต์ของ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

2560 + 1 = 2561 ข้อใดเป็นสมการ 100 × 0 50 - 30 ≠ 21 x + 7 = 12 สมการ 1 4 x + 7 = 12 สมการ ประโยคที่แสดงการเท่ากันของจำนวน โดยมีสัญลักษณ์ “ = ” บอกการเท่ากัน

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1 3x - 5 = 0 ข้อใดเป็น สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว 2 2x² = 0 3 10x = 0 4 x + y = 0 - สมการซึ่งมี x เป็นตัวแปร - มีรูปทั่วไปเป็น ax + b = 0 - เมื่อ a, b เป็นค่าคงตัว และ a ≠ 0 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

สมบัติการเท่ากัน สมบัติสมมาตร (Symmetric Property) สมบัติถ่ายทอด (Transitive Property) สมบัติการเท่ากัน สมบัติการบวก (Addition Properties of Equations) สมบัติการคูณ (Multiplication Properties of Equations)

สมบัติสมมาตร (Symmetric Property) เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนจริงใดๆ สมบัติสมมาตร (Symmetric Property) ถ้า a = b แล้ว b = a เช่น - ถ้า 3+4 = 7 แล้ว 7 = 3+4 - ถ้า x-3 = 2x+7 แล้ว 2x+7 = x-3

สมบัติถ่ายทอด (Transitive Property) เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนจริงใดๆ สมบัติถ่ายทอด (Transitive Property) ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c เช่น - ถ้า 2+3 = 5 และ 5 = 1+4 แล้ว 2+3 = 1+4 - ถ้า x = 5+7 และ 5+7 = 12 แล้ว x = 12

a = b a + c = b + c a = 5 a + 3 = 5 + 3 x = 9 x + (-2) = 9 + (-2) เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนจริงใดๆ สมบัติการบวก (Addition Properties of Equations) ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เช่น - ถ้า a = 5 แล้ว a + 3 = 5 + 3 - ถ้า x = 9 แล้ว x + (-2) = 9 + (-2)

ถ้า a = b แล้ว ca = cb เช่น - ถ้า a = 10 แล้ว 2(a) = 2(10) - ถ้า สมบัติการคูณ (Multiplication Properties of Equations) ถ้า a = b แล้ว ca = cb เช่น - ถ้า a = 10 แล้ว 2(a) = 2(10) - ถ้า x = 20 แล้ว (x) = (20)

ตัวอย่าง จงใช้สมบัติการบวกและสมบัติการคูณแก้สมการต่อไปนี้ 1 2 x + 7 = 12 5x = 20 x + 7 = 12 + (-7) + (-7) (5x) = (20) x = 5 x = 4

ตัวอย่าง จงใช้สมบัติการบวกและการคูณแก้สมการต่อไปนี้ 3 7x = 2x - 25