การเจริญของเอมบริโอมนุษย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พ.อารักษ์ R3 พ.หทัยรัตน์ R2
Advertisements

Memorandum of Understanding -MoU TISI - SAC - การมาตรฐาน - การแลกเปลี่ยนมาตรฐาน - การประสานงานด้านการมาตรฐาน ระหว่างประเทศ - การแลกเปลี่ยนข้อสนเทศและ วารสาร.
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
ใครๆมักถือเอาความสำเร็จว่า เป็นพรที่ได้รับจากสวรรค์ แต่แท้ที่จริงแล้ว พรดังกล่าวได้มาจาก ความพยายามอย่างลำบากตรากตรำของตัวบุคคลเองต่างหาก.
นิยามดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึงเทห์วัตถุที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ครบถ้วน (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ข) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของดาว.
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
วันดี อภิณหสมิต DIGESTIVE SYSTEM Development of บทเรียน
การตั้งท้องและการคลอดลูก (Gestation & Parturition)
น.พ.อมร นนทสุต.
การปฏิสนธิ (Fertilization)
พ.อ. ศุภกิจ สงวนดีกุล กองศัลยกรรม รพ.พระมงกุฏเกล้า
Propagation and Maintenance
การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์
Umbilical cord prolapsed
Postpartum Hemorrhage
ภาวะตกเลือดทางสูติศาสตร์
แบบทดสอบ 1. Ductus Venosus เป็น Shunt ระหว่างเส้น เลือดอะไร Umbilical vein กับ Inferior Venacava Umbilical artery กับ Right atrium Pulmonary artery กับ.
การพิสูจน์การตั้งครรภ์
หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน
Case study21 Facilitator: Pawin Puapornpong.
Pandemic vaccine AEFI in Thailand
Birth asphyxia Pakamas Srisuvunrat.
การป้องกันการติดเชื้อจากการให้สารน้ำ ทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Service Plan สาขาสูติกรรม
Lymphatic drainage of the head and neck
Facilitator: Pawin Puapornpong
Prolapsed cord.
Temporomandibular joint
โครงสร้างและการทำงานของสัตว์
บทที่ 5 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ ในภาวะฉุกเฉินและเรื้อรัง
การตรวจหาเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส ในกลุ่มเกษตรกร โดยใช้กระดาษทดสอบพิเศษ
ภาวะตกเลือดทางสูติศาสตร์
Case study 54 Facilitator: Pawin Puapornpong.
วงรอบ การให้ผลผลิต ของโคนม Lifecycle Production Phases
อาจารย์พูลทรัพย์ ลาภเจียม
ฮอร์โมนสามารถออกฤทธิ์ได้โดยใช้ประมาณเพียงเล็กน้อย
Facilitator: Pawin Puapornpong
Case study 52 Facilitator: Pawin Puapornpong.
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
Facilitator: Pawin Puapornpong
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที
ครูฐิติรัตน์ กันนะ : โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี
Facilitator: Pawin Puapornpong
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต(Reproduction & Development)
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
สมาชิก โต๊ะที่ 5 กลุ่ม น. ส. ชลธิชา. เบ้าสิงห์ น. ส
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
ระบบประสาทและ การแสดงพฤติกรรม.
บทที่ 14 การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจ เพื่อการวินิจฉัยโรค
Division of Cardiothoracic Surgery Department of Surgery Faculty of Medicine Siriraj Hospital Mahidol University ความก้าวหน้าสาขาศัลยศาสตร์หัวใจและทรวงอก.
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
ความต้องการสารอาหารสำหรับการตั้งครรภ์
ครูปฏิการ นาครอด.
1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-
Facilitator: Pawin Puapornpong
การพัฒนาของมนุษย์ หลังการปฏิสนธิจะได้ไซโกต ซึ่งจะพัฒนาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ผ่านระยะการเจริญที่สำคัญ ได้แก่ Clevage, Blastulation, Gastulation และ Organogenesis.
การสังเคราะห์ด้วยแสง
ปฏิบัติการเรื่อง กายวิภาคไตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
การคำนวณสารตามที่กฎหมายประกาศกำหนด
จัดทำโดย อาจารย์วิษณุ สมัญญา
วิลเลียม ฮาร์วีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นคนแรกที่ค้นพบหมุนเวียนของเลือด ซึ่งมีการไหลเวียนไปทางเดียวกัน.
THE HEART 1. เป็นก้อนกล้ามเนื้อเป็นโพรงข้างในมี 4 ช่อง ขนาดกำปั้นมือ ตั้งอยู่ใน Pericardial sac , Posterior ต่อ Sternum , เอียงซ้าย Apex อยู่ส่วนล่าง.
Appropriate caesarean section
การรักษาดุลภาพของร่างกาย(Homeostasis)
การตรวจร่างกายทั่วไป และการตรวจทางห้องปฏิบัติการในสตรีตั้งครรภ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเจริญของเอมบริโอมนุษย์ ขั้นตอนการปฏิสนธิและการเจริญของเอมบริโอมนุษย์ สิ้นสุดระยะเอมบริโอเนื่องจากมีอวัยวะต่างๆ ครบแล้ว 7 วันฝังตัวที่ผนัง มดลูกชั้นใน (วันที่ 21 ของรอบเดือน) เอมบริโออายุ 8-10 สัปดาห์ (ประมาณ 2 เดือน) เอมบริโอระยะ Blastocyst (4n) ระยะ 2 เดือน ไซโกต (2n) ตั้งครรภ์ ฟีตัส (Fetus) ครบกำหนด ตั้งครรภ์ สเปิร์ม + ไข่ (n) (n) คลอด ปฏิสนธิที่ตอนต้น 1/3 ของท่อนำไข่หรือ 2/3 ตอนปลายของปีกมดลูกในวันที่ 14 ของรอบเดือน

การเจริญของเอมบริโอคน  เอมบริโอของคนอยู่ในมดลูกของแม่ ระยะเอมบริโอคนสิ้นสุดลงเมื่อ 8 - 10 สัปดาห์ หลังปฏิสนธิหลังจากนี้จะไปเรียกเอมบริโอ เพราะมีอวัยวะต่างๆ ครบแล้ว แต่จะเรียกเป็นฟีตัส (Foetus)

เยื่อห้มทารก (Fetal membrane) ได้แก่ 1. ถุงไข่แดง (Yolk sac) ใช้อาหารในช่วงแรกๆ ต่อมาไม่ทำหน้าที่ใดๆ 2. ถุงน้ำครำ(Amnion) ป้องกันการกระทบกระเทือนให้แก่ทารก ช่วยควบคุมอุณหภูมิ จะแตกก่อนคลอด เรียกว่า น้ำทูนหัว เปรียบเสมือนลิ่มของเหลว (hydrostatic wedge) ช่วยให้คลอดสะดวก หรือเทียบได้กับถุงไข่แดง (ให้อาหาร) และแอลแลนตอยล์ (แลกเปลี่ยนแก๊สและขับถ่ายของเสีย) ในเอมบริโอได้

3. คอยเรียน (Chorion) เจริญเป็นส่วนหนึ่งของรก 4. แอลแลนตอยส์ (Allantois) เจริญเป็นส่วนหนึ่งของรก 5. รก (Placenta) ทำหน้าที่ให้อาหารแก่ทารก, แลกเปลี่ยนแก๊ส, ขับถ่ายของเสีย และสร้างฮอร์โมน HCG กับ Progesterone ดังนั้น รกจึงเทียบกับลำไส้เล็ก (แหล่งดูดซึมอาหาร) ปลดแลกเปลี่ยนแก๊ส และไต (ขับถ่ายของเสีย) 6. สายสะดือ (Umbilical cord) เป็นโครงสร้างติดต่อระหว่างทารกกับรก ภายในมีเส้นเลือด 3 เส้น คือ 2 Artery ลำเลียงเลือดเสียออกจากตัวทารกและ 1 Vein ลำเลียงเลือดดีจากรกเข้าสู่ทารก

การเกิดเยื่อหุ้มตัวอ่อน (Embryonic membrane) หลังจาก Blastocyst อายุ 7 วัน ฝังตัว (Implantation) ที่ผนังมดลูก ในวันที่ 21 ของรอบเดือน