งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงสร้างและการทำงานของสัตว์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงสร้างและการทำงานของสัตว์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงสร้างและการทำงานของสัตว์
ระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ

2 1.ระบบย่อยอาหาร เนื้อหา 1. ประเภทของการย่อยอาหาร
2. อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 3. อวัยวะช่วยย่อยอาหาร

3 ระบบย่อยอาหาร เนื้อหา 1. ประเภทของการย่อยอาหาร 2. อวัยวะที่เกี่ยวข้อง
3. อวัยวะช่วยย่อยอาหาร

4

5

6

7 ประเภทของการย่อยอาหาร
การย่อยอาหาร มี 2 วิธี คือ 1.การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion) 2.การย่อยทางเคมี (Chemical digestion)

8 การย่อยเชิงกล คือ อาหารที่ถูกฟันบดเคี้ยวหรือการบีบรัดของทางเดินอาหาร ทำให้มีขนาดเล็กลงแต่ยังไม่สามารถแปรสภาพอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ให้มีโมเลกุลเล็กลงจนสามารถดูดซึมได้

9 การย่อยทางเคมี คือ อาหารเหล่านี้จะถูกย่อยให้เป็นโมเลกุลให้เล็กลงไปอีกโดยเอนไซม์ในน้ำลาย กระเพาะ และลำไส้เล็ก (รวมทั้งตับ) จะมีน้ำย่อยอยู่ เอนไซม์ เป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) ปฏิกริยาไฮโดรไลซิส (hydrolysis)

10 hydrolysis คือ การแตกอาหารโมเลกุลใหญ่ให้เป็นโมเลกุลเล็ก โดยใช้น้ำเป็นตัวทำปฏิกิริยา เช่น น้ำตาลมอลโตส (Maltose) ถูกย่อยโดยใช้เอนไซม์มอลเตส (enzyme Maltase) จะได้กลูโคส แต่ตัวทำปฏิกริยาจริง ๆ คือ น้ำ เอนไซม์เป็นเพียงตัวเร่งปฏิกริยาเท่านั้น

11 อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก
1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก 5. ลำไส้ใหญ่ 6. ทวารหนัก

12 อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก
1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก 5. ลำไส้ใหญ่ 6. ทวารหนัก

13 อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก
1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก 5. ลำไส้ใหญ่ 6. ทวารหนัก

14 ปาก เป็นอวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร ภายในประกอบด้วยฟันทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ลิ้นทำหน้าที่ส่งอาหารให้ฟันบดเคี้ยว และคลุกเคล้าอาหารให้อ่อนตัว ต่อมน้ำลาย มีหน้าที่ผลิตเอนไซม์ในน้ำลายคืออะไมเลส (98% ของน้ำลายคือน้ำ)

15 หลอดอาหาร ทำหน้าที่หดตัว บีบอาหารลงสู่กระเพาะอาหาร เพราะหลอดอาหารมีผนังมีกล้ามเนื้อที่ยึดและหดตัวได้ บริเวณคอหอยมีช่องเปิดเข้าสู่หลอดลมและหลอดอาหาร โดยส่วนบนของหลอดลมจะมีแผ่นกระดูกอ่อนปิดกั้นกันอาหารไม่ให้เข้าสู่หลอดลม ไม่มีต่อมสร้างน้ำย่อยแต่มีต่อมขับน้ำเมือกช่วยให้อาหารใหลผ่านได้สะดวก

16 กระเพาะอาหาร ผลิตกรดไฮโดรคลอริกและน้ำย่อยอาหารประเภทโปรตีนมีลักษณะเป็นถุง รูปร่างคล้ายตัว J ปกติกระเพาะอาหารที่ไม่มีอาหารจะมีขนาดประมาณ 45 มิลลิลิตร และสามารถขยายตัวเพื่อบรรจุอาหารได้ ลิตร กระเพาะอาหารสามารถย่อยได้โดยการบีบตัวทำให้อาหารแตกเป็นชิ้นเล็กๆ คลุกเคล้ากับน้ำย่อยในกระเพาะ ซึ่งน้ำย่อยประกอบด้วยกรดที่ใช้ย่อยโปรตีนชื่อว่าเปปซินและเรนนิน

17 ลำไส้เล็ก ผลิตน้ำย่อยอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์มีรูปร่างเป็นท่อ ในลำไส้เล็กมีน้ำย่อยหลายชนิดใช้ย่อยอาหารได้ทุกประเภท ตั้งแต่คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ถ้าน้ำย่อยในลำไส้เล็กไม่พอจะมีน้ำย่อยจากตับและตับอ่อนเข้ามาช่วย โดยตับจะสร้างน้ำดีสำหรับย่อยไขมันให้มีขนาดเล็กลง นอกจากนี้ ลำไส้เล็กยังมีหน้าที่ดูดซึมสารอาหารเกือบทุกชนิดอีกด้วย

18 ลำไส้ใหญ่ ดูดซึมน้ำ แร่ธาตุ วิตามินบางชนิดและกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นน้ำในลำไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร ส่วนต้นของลำใส้ใหญ่มีไส้ติ่งซึ่งไม่ได้ช่วยย่อยอาหารแต่อย่างใด ส่วนปลายของลำไส้ใหญ่เป็นไส้ตรง เชื่อมต่อไปยังทวารหนัก ทวารหนัก ขับถ่ายกากอาหาร

19 3. อวัยวะช่วยย่อยอาหาร การย่อยอาหารในคนนอกจากมีอวัยวะที่เป็นทางเดินอาหารแล้ว ยังมีอวัยวะที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการช่วยย่อยอาหารโดยเฉพาะในการย่อยอาหารในลำไส้เล็ก เนื่องจากอวัยวะต่างๆที่ได้กล่าวมานั้นไม่สามารถที่จะย่อยสารอาหารบางชนิดได้ทำให้ต้องมีอวัยวะช่วยย่อยอาหาร ในการย่อยสารอาหารบางชนิดได้แก่ตับและตับอ่อน

20 ตับ เป็นอวัยวะซึ่งมีต่อมที่ใหญ่ที่สุดของร่างกาย อยู่ช่องท้องใต้กระบังลม ทำหน้าที่สร้างน้ำดี แล้วนำไปเก็บสะสมไว้ในถุงน้ำดี น้ำดี ประกอบด้วยเกลือน้ำดี และรงควัตถุน้ำดี ท่อนำน้ำดีช่วงแรกเรียกว่า common bile duct ช่วงสุดท้ายก่อนที่จะเปิดเข้า ลำไส้เล็ก โดยไปรวมกับท่อจากตับอ่อนเรียกว่า hepato pancreatic duct ตับมีหน้าที่โดยสรุปดังนี้

21 1. สร้างน้ำดีในการช่วยให้ไขมันแตกตัว
ทำให้น้ำย่อยไขมันสามารถย่อยไขมัน ได้ดีในลำไส้เล็ก 2. ทำลายเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงในระยะ เอ็มบริโอ 4. ช่วยในการแข็งตัวของเลือด

22 5. สลายกรดอะมิโนให้เป็นยูเรีย
ศูนย์กลางเมแทบอลิซึมอาหารที่ให้พลังงานได้ สะสมไกลโคเจนซึ่งเป็นน้ำตาลจากเลือด สะสมไว้ในตับ 8. ทำลายจุลินทรีย์โดยมี kupffer’ s cell ทำหน้าที่ทำลายจุลินทรีย์ 9. คุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ให้เกิน 0.1 %

23 ตับอ่อน ช่วงแรกเรียกว่า ท่อแพนครีเอติค ( pancreatic duct)
ช่วงหลังเรียกว่าท่อจากตับอ่อน ( hepato pancreaticduct) หน้าที่ของตับอ่อนสรุปได้ดังนี้

24 มีต่อมสร้างน้ำย่อยหลายชนิดส่งให้ลำไส้เล็กทำหน้าที่ย่อย แป้ง โปรตีนและไขมัน
2. มีต่อมไร้ท่อควบคุมน้ำตาลในเลือด สร้างสารที่เป็นด่างกระตุ้นให้น้ำย่อยใน ลำไส้เล็กทำงานได้ดี โดยเฉพาะเอนไซม์

25 2.ระบบหายใจ      การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องใช้แก๊สออกซิเจน ซึ่งคนเราได้รับแก๊สออกซิเจนจากการหายใจเข้า ถ้าร่างกายขาดแก๊สออกซิเจนไปเพียง นาที ก็จะทำให้ถึงตายได้

26

27

28

29 ประเภทของการย่อยอาหาร
การย่อยอาหาร มี 2 วิธี คือ 1.การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion) 2.การย่อยทางเคมี (Chemical digestion)

30 การย่อยเชิงกล คือ อาหารที่ถูกฟันบดเคี้ยวหรือการบีบรัดของทางเดินอาหาร ทำให้มีขนาดเล็กลงแต่ยังไม่สามารถแปรสภาพอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ให้มีโมเลกุลเล็กลงจนสามารถดูดซึมได้

31 การย่อยทางเคมี คือ อาหารเหล่านี้จะถูกย่อยให้เป็นโมเลกุลให้เล็กลงไปอีกโดยเอนไซม์ในน้ำลาย กระเพาะ และลำไส้เล็ก (รวมทั้งตับ) จะมีน้ำย่อยอยู่ เอนไซม์ เป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นตัวเร่งปฏิกริยา (Catalyst) ปฏิกริยาไฮโดรไลซิส (hydrolysis)

32 hydrolysis คือ การแตกอาหารโมเลกุลใหญ่ให้เป็นโมเลกุลเล็ก โดยใช้น้ำเป็นตัวทำปฏิกริยา เช่น น้ำตาลมอลโตส (Maltose) ถูกย่อยโดยใช้เอนไซม์มอลเตส (enzyme Maltase) จะได้กลูโคส แต่ตัวทำปฏิกริยาจริง ๆ คือ น้ำ เอนไซม์เป็นเพียงตัวเร่งปฏิกริยาเท่านั้น

33 อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก
1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก 5. ลำไส้ใหญ่ 6. ทวารหนัก

34 อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก
1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก 5. ลำไส้ใหญ่ 6. ทวารหนัก

35 อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก
1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก 5. ลำไส้ใหญ่ 6. ทวารหนัก

36 ปาก เป็นอวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร ภายในประกอบด้วยฟันทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ลิ้นทำหน้าที่ส่งอาหารให้ฟันบดเคี้ยว และคลุกเคล้าอาหารให้อ่อนตัว ต่อมน้ำลาย มีหน้าที่ผลิตเอนไซม์ในน้ำลายคืออะไมเลส (98% ของน้ำลายคือน้ำ)

37 หลอดอาหาร ทำหน้าที่หดตัว บีบอาหารลงสู่กระเพาะอาหาร เพราะหลอดอาหารมีผนังมีกล้ามเนื้อที่ยึดและหดตัวได้ บริเวณคอหอยมีช่องเปิดเข้าสู่หลอดลมและหลอดอาหาร โดยส่วนบนของหลอดลมจะมีแผ่นกระดูกอ่อนปิดกั้นกันอาหารไม่ให้เข้าสู่หลอดลม ไม่มีต่อมสร้างน้ำย่อยแต่มีต่อมขับน้ำเมือกช่วยให้อาหารใหลผ่านได้สะดวก

38 กระเพาะอาหาร ผลิตกรดไฮโดรคลอริกและน้ำย่อยอาหารประเภทโปรตีนมีลักษณะเป็นถุง รูปร่างคล้ายตัว J ปกติกระเพาะอาหารที่ไม่มีอาหารจะมีขนาดประมาณ 45 มิลลิลิตร และสามารถขยายตัวเพื่อบรรจุอาหารได้ ลิตร กระเพาะอาหารสามารถย่อยได้โดยการบีบตัวทำให้อาหารแตกเป็นชิ้นเล็กๆ คลุกเคล้ากับน้ำย่อยในกระเพาะ ซึ่งน้ำย่อยประกอบด้วยกรดที่ใช้ย่อยโปรตีนชื่อว่าเปปซินและเรนนิน

39 ลำไส้เล็ก ผลิตน้ำย่อยอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์มีรูปร่างเป็นท่อ ในลำไส้เล็กมีน้ำย่อยหลายชนิดใช้ย่อยอาหารได้ทุกประเภท ตั้งแต่คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ถ้าน้ำย่อยในลำไส้เล็กไม่พอจะมีน้ำย่อยจากตับและตับอ่อนเข้ามาช่วย โดยตับจะสร้างน้ำดีสำหรับย่อยไขมันให้มีขนาดเล็กลง นอกจากนี้ ลำไส้เล็กยังมีหน้าที่ดูดซึมสารอาหารเกือบทุกชนิดอีกด้วย

40 ลำไส้ใหญ่ ดูดซึมน้ำ แร่ธาตุ วิตามินบางชนิดและกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นน้ำในลำไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร ส่วนต้นของลำใส้ใหญ่มีไส้ติ่งซึ่งไม่ได้ช่วยย่อยอาหารแต่อย่างใด ส่วนปลายของลำไส้ใหญ่เป็นไส้ตรง เชื่อมต่อไปยังทวารหนัก ทวารหนัก ขับถ่ายกากอาหาร

41 3. อวัยวะช่วยย่อยอาหาร การย่อยอาหารในคนนอกจากมีอวัยวะที่เป็นทางเดินอาหารแล้ว ยังมีอวัยวะที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการช่วยย่อยอาหารโดยเฉพาะในการย่อยอาหารในลำไส้เล็ก เนื่องจากอวัยวะต่างๆที่ได้กล่าวมานั้นไม่สามารถที่จะย่อยสารอาหารบางชนิดได้ทำให้ต้องมีอวัยวะช่วยย่อยอาหาร ในการย่อยสารอาหารบางชนิดได้แก่ตับและตับอ่อน

42 ตับ เป็นอวัยวะซึ่งมีต่อมที่ใหญ่ที่สุดของร่างกาย อยู่ช่องท้องใต้กระบังลม ทำหน้าที่สร้างน้ำดี แล้วนำไปเก็บสะสมไว้ในถุงน้ำดี น้ำดี ประกอบด้วยเกลือน้ำดี และรงควัตถุน้ำดี ท่อนำน้ำดีช่วงแรกเรียกว่า common bile duct ช่วงสุดท้ายก่อนที่จะเปิดเข้า ลำไส้เล็ก โดยไปรวมกับท่อจากตับอ่อนเรียกว่า hepato pancreatic duct ตับมีหน้าที่โดยสรุปดังนี้

43 1. สร้างน้ำดีในการช่วยให้ไขมันแตกตัว
ทำให้น้ำย่อยไขมันสามารถย่อยไขมัน ได้ดีในลำไส้เล็ก 2. ทำลายเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงในระยะ เอ็มบริโอ 4. ช่วยในการแข็งตัวของเลือด

44 5. สลายกรดอะมิโนให้เป็นยูเรีย
ศูนย์กลางเมแทบอลิซึมอาหารที่ให้พลังงานได้ สะสมไกลโคเจนซึ่งเป็นน้ำตาลจากเลือด สะสมไว้ในตับ 8. ทำลายจุลินทรีย์โดยมี kupffer’ s cell ทำหน้าที่ทำลายจุลินทรีย์ 9. คุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ให้เกิน 0.1 %

45 ตับอ่อน ช่วงแรกเรียกว่า ท่อแพนครีเอติค ( pancreatic duct)
ช่วงหลังเรียกว่าท่อจากตับอ่อน ( hepato pancreaticduct) หน้าที่ของตับอ่อนสรุปได้ดังนี้

46 มีต่อมสร้างน้ำย่อยหลายชนิดส่งให้ลำไส้เล็กทำหน้าที่ย่อย แป้ง โปรตีนและไขมัน
2. มีต่อมไร้ท่อควบคุมน้ำตาลในเลือด สร้างสารที่เป็นด่างกระตุ้นให้น้ำย่อยใน ลำไส้เล็กทำงานได้ดี โดยเฉพาะเอนไซม์

47 ระบบหายใจ      การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องใช้แก๊สออกซิเจน ซึ่งคนเราได้รับแก๊สออกซิเจนจากการหายใจเข้า ถ้าร่างกายขาดแก๊สออกซิเจนไปเพียง นาที ก็จะทำให้ถึงตายได้

48

49

50

51 ประเภทของการย่อยอาหาร
การย่อยอาหาร มี 2 วิธี คือ 1.การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion) 2.การย่อยทางเคมี (Chemical digestion)

52 การย่อยเชิงกล คือ อาหารที่ถูกฟันบดเคี้ยวหรือการบีบรัดของทางเดินอาหาร ทำให้มีขนาดเล็กลงแต่ยังไม่สามารถแปรสภาพอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ให้มีโมเลกุลเล็กลงจนสามารถดูดซึมได้

53 การย่อยทางเคมี คือ อาหารเหล่านี้จะถูกย่อยให้เป็นโมเลกุลให้เล็กลงไปอีกโดยเอนไซม์ในน้ำลาย กระเพาะ และลำไส้เล็ก (รวมทั้งตับ) จะมีน้ำย่อยอยู่ เอนไซม์ เป็นโปรตีนชนิดหนึ่งที่ร่างกายสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นตัวเร่งปฏิกริยา (Catalyst) ปฏิกริยาไฮโดรไลซิส (hydrolysis)

54 hydrolysis คือ การแตกอาหารโมเลกุลใหญ่ให้เป็นโมเลกุลเล็ก โดยใช้น้ำเป็นตัวทำปฏิกริยา เช่น น้ำตาลมอลโตส (Maltose) ถูกย่อยโดยใช้เอนไซม์มอลเตส (enzyme Maltase) จะได้กลูโคส แต่ตัวทำปฏิกริยาจริง ๆ คือ น้ำ เอนไซม์เป็นเพียงตัวเร่งปฏิกริยาเท่านั้น

55 อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก
1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก 5. ลำไส้ใหญ่ 6. ทวารหนัก

56 อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก
1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก 5. ลำไส้ใหญ่ 6. ทวารหนัก

57 อวัยวะที่เกี่ยวข้อง 1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก
1. ปาก 2. หลอดอาหาร 3. กระเพาะอาหาร 4. ลำไส้เล็ก 5. ลำไส้ใหญ่ 6. ทวารหนัก

58 ปาก เป็นอวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร ภายในประกอบด้วยฟันทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ลิ้นทำหน้าที่ส่งอาหารให้ฟันบดเคี้ยว และคลุกเคล้าอาหารให้อ่อนตัว ต่อมน้ำลาย มีหน้าที่ผลิตเอนไซม์ในน้ำลายคืออะไมเลส (98% ของน้ำลายคือน้ำ)

59 หลอดอาหาร ทำหน้าที่หดตัว บีบอาหารลงสู่กระเพาะอาหาร เพราะหลอดอาหารมีผนังมีกล้ามเนื้อที่ยึดและหดตัวได้ บริเวณคอหอยมีช่องเปิดเข้าสู่หลอดลมและหลอดอาหาร โดยส่วนบนของหลอดลมจะมีแผ่นกระดูกอ่อนปิดกั้นกันอาหารไม่ให้เข้าสู่หลอดลม ไม่มีต่อมสร้างน้ำย่อยแต่มีต่อมขับน้ำเมือกช่วยให้อาหารใหลผ่านได้สะดวก

60 กระเพาะอาหาร ผลิตกรดไฮโดรคลอริกและน้ำย่อยอาหารประเภทโปรตีนมีลักษณะเป็นถุง รูปร่างคล้ายตัว J ปกติกระเพาะอาหารที่ไม่มีอาหารจะมีขนาดประมาณ 45 มิลลิลิตร และสามารถขยายตัวเพื่อบรรจุอาหารได้ ลิตร กระเพาะอาหารสามารถย่อยได้โดยการบีบตัวทำให้อาหารแตกเป็นชิ้นเล็กๆ คลุกเคล้ากับน้ำย่อยในกระเพาะ ซึ่งน้ำย่อยประกอบด้วยกรดที่ใช้ย่อยโปรตีนชื่อว่าเปปซินและเรนนิน

61 ลำไส้เล็ก ผลิตน้ำย่อยอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และดูดซึมสารอาหารเข้าสู่เซลล์มีรูปร่างเป็นท่อ ในลำไส้เล็กมีน้ำย่อยหลายชนิดใช้ย่อยอาหารได้ทุกประเภท ตั้งแต่คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ถ้าน้ำย่อยในลำไส้เล็กไม่พอจะมีน้ำย่อยจากตับและตับอ่อนเข้ามาช่วย โดยตับจะสร้างน้ำดีสำหรับย่อยไขมันให้มีขนาดเล็กลง นอกจากนี้ ลำไส้เล็กยังมีหน้าที่ดูดซึมสารอาหารเกือบทุกชนิดอีกด้วย

62 ลำไส้ใหญ่ ดูดซึมน้ำ แร่ธาตุ วิตามินบางชนิดและกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นน้ำในลำไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร ส่วนต้นของลำใส้ใหญ่มีไส้ติ่งซึ่งไม่ได้ช่วยย่อยอาหารแต่อย่างใด ส่วนปลายของลำไส้ใหญ่เป็นไส้ตรง เชื่อมต่อไปยังทวารหนัก ทวารหนัก ขับถ่ายกากอาหาร

63 3. อวัยวะช่วยย่อยอาหาร การย่อยอาหารในคนนอกจากมีอวัยวะที่เป็นทางเดินอาหารแล้ว ยังมีอวัยวะที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการช่วยย่อยอาหารโดยเฉพาะในการย่อยอาหารในลำไส้เล็ก เนื่องจากอวัยวะต่างๆที่ได้กล่าวมานั้นไม่สามารถที่จะย่อยสารอาหารบางชนิดได้ทำให้ต้องมีอวัยวะช่วยย่อยอาหาร ในการย่อยสารอาหารบางชนิดได้แก่ตับและตับอ่อน

64 ตับ เป็นอวัยวะซึ่งมีต่อมที่ใหญ่ที่สุดของร่างกาย อยู่ช่องท้องใต้กระบังลม ทำหน้าที่สร้างน้ำดี แล้วนำไปเก็บสะสมไว้ในถุงน้ำดี น้ำดี ประกอบด้วยเกลือน้ำดี และรงควัตถุน้ำดี ท่อนำน้ำดีช่วงแรกเรียกว่า common bile duct ช่วงสุดท้ายก่อนที่จะเปิดเข้า ลำไส้เล็ก โดยไปรวมกับท่อจากตับอ่อนเรียกว่า hepato pancreatic duct ตับมีหน้าที่โดยสรุปดังนี้

65 1. สร้างน้ำดีในการช่วยให้ไขมันแตกตัว
ทำให้น้ำย่อยไขมันสามารถย่อยไขมัน ได้ดีในลำไส้เล็ก 2. ทำลายเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงในระยะ เอ็มบริโอ 4. ช่วยในการแข็งตัวของเลือด

66 5. สลายกรดอะมิโนให้เป็นยูเรีย
ศูนย์กลางเมแทบอลิซึมอาหารที่ให้พลังงานได้ สะสมไกลโคเจนซึ่งเป็นน้ำตาลจากเลือด สะสมไว้ในตับ 8. ทำลายจุลินทรีย์โดยมี kupffer’ s cell ทำหน้าที่ทำลายจุลินทรีย์ 9. คุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ให้เกิน 0.1 %

67 ตับอ่อน ช่วงแรกเรียกว่า ท่อแพนครีเอติค ( pancreatic duct)
ช่วงหลังเรียกว่าท่อจากตับอ่อน ( hepato pancreaticduct) หน้าที่ของตับอ่อนสรุปได้ดังนี้

68 มีต่อมสร้างน้ำย่อยหลายชนิดส่งให้ลำไส้เล็กทำหน้าที่ย่อย แป้ง โปรตีนและไขมัน
2. มีต่อมไร้ท่อควบคุมน้ำตาลในเลือด สร้างสารที่เป็นด่างกระตุ้นให้น้ำย่อยใน ลำไส้เล็กทำงานได้ดี โดยเฉพาะเอนไซม์

69 3.ระบบไหลเวียนเลือด แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ
แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ     1. ระบบเปิด  เป็นระบบที่เลือดไม่ได้ไหลไปตามเส้นเลือดตลอดเวลาแต่จะมีเลือดไหลไปตามช่องว่างในลำตัวที่เรียกว่า

70 เฮโมซีล( Haemocoel ) พบในสัตว์ในไฟลัม มอลลัสกา ได้แก่ หอย ปลาหมึก และสัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโพดา ได้แก่ ปู กุ้ง ตะขาบ และแมลง

71  2. ระบบปิด  เป็นระบบที่เลือดไหลไปตามเส้นเลือดผ่านหัวใจครบวงจร ระบบนี้มีเส้นเลือดฝอยเชื่อมโยงระหว่างเส้นเลือดที่พาเลือดออกจากหัวใจ กับเส้นเลือดที่พาเลือดเข้าสู่หัวใจ

72 พบในสัตว์ไฟลัม แอนิลิดา เช่น ไสเดือนดิน และสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา หรือพวกมีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

73 เซอร์วิลเลียม ฮาร์วี ( Sir William Harvey ) ชาวอังกฤษเป็นคนแรกที่ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการหมุนเวียนของเลือด และพบว่าเลือดของคนเราไหลไปทางเดียว ไม่มีการไหลสวนทางกัน

74 มาร์เซลโล มัลพิกิ (Marcello Malpighi) เป็นผู้พบเส้นเลือดฝอยเป็นคนแรก ระบบหมุนเวียนของเลือดในคน ในร่างกายมนุษย์มีหัวใจทำหน้าที่สูบฉีดโลหิตให้ไหลเวียนอยู่ในเส้นเลือด การสูบฉีดโลหิตของหัวใจทำให้เกิดแรงดัน

75 ให้เลือดไหลไปตามเส้นเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย และไหลกลับคืนสู่หัวใจ โดยหัวใจของคนเราตั้งอยู่ในทรวงอกระหว่างปอดทั้งสองข้างค่อนมาทางด้านซ้ายชิดผนังทรวงอก แบ่งออกเป็น 4 ห้อง ห้องบนสองห้อง มีผนังบาง เรียกว่า เอเทรียม ( atrium )

76 ส่วนสองห้องล่างมีขนาดใหญ่กว่าและผนังหนา เรียกว่า เวนทริเคิล ( ventricle ) ระหว่างห้องบนกับห้องล่างทั้งสองซีกจะมีลิ้นหัวใจ ( value ) คอยเปิด- ปิด เพื่อกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ

77 หัวใจของคนเราประกอบไปด้วยกล้ามเนื้อที่มิได้อยู่ภายใต้อำนาจบังคับของสมอง หัวใจของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มี 4 ห้อง ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำมี3 ห้อง ( ยกเว้นจระเข้ มี 4 ห้อง ) หัวใจปลามี 2 ห้อง หัวใจของสัตว์ปีก มี 4 ห้อง

78 หัวใจมนุษย์

79 ในร่างกายของมนุษย์ ระบบการหมุนเวียนของเลือดประกอบด้วยหัวใจเป็นอวัยวะสำคัญ ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย โดยมีเส้นเลือดเป็นท่อลำเลียงเลือด

80 ดังนั้นระบบหมุนเวียนเลือดของคนเราจึงประกอบด้วยส่วนสำคัญ  3 ส่วน คือ เลือด  เส้นเลือด  และ หัวใจ
1.  เลือด ( blood )  ในร่างกายของคนเรามีเลือดอยู่ประมาณ 6,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร เลือดประกอบไปด้วยส่วนที่เป็นของเหลว คือ น้ำเลือด ( plasma ) กับส่วนที่เป็นของแข็ง คือ เซลล์เม็ดเลือดแดง  เซลล์เม็ดเลือดขาว และ เกล็ดเลือด

81 1.1  ส่วนที่เป็นของหลว  คือ น้ำเลือดหรือพลาสมา ประกอบด้วยน้ำและสารต่างๆ ซึ่งได้แก่ สารอาหารที่ถูกย่อยแล้ว รวมทั้งวิตามิน  เกลือแร่ ฮอร์โมนและสารอื่นๆที่ละลายน้ำได้ สารเหล่านี้จึงอยู่ในรูปสารละลาย มีประมาณ 50 % ของเลือดทั้งหมด น้ำเลือดทำหน้าที่ลำเลียงอาหารที่ถูกดูดซึมจากลำไส้เล็กไปสู่ส่วนต่างๆของเซลล์ทั่วร่างกายและลำเลียงของเสียที่เป็นของเหลวจากเซลล์ เช่น ยูเรีย มาสู่ไต

82 ซึ่งไตจะสกัดเอาสารยูเรียออกจากเลือดแล้วขับถ่ายออกมาในรูปของปัสสาวะ
1.2  ส่วนที่เป็นของแข็ง  มีอยู่ประมาณ 50% ของเลือดทั้งหมด ประกอบด้วย        -  เซลล์เม็ดเลือดแดง   ในขณะที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ จะอยู่ในไขกระดูกและมีนิวเคลียส

83 แต่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะเข้าไปอยู่ในกระแสเลือดแล้วนิวเคลียสจะหายไป เม็ดเลือดแดงทำหน้าที่ขนส่งแก๊สออกซิเจน จากปอดไปสู่เซลล์ทั่วร่างกายและขนส่งแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นของเสียที่เกิดจากการสลายอาหารจากเซลล์มาสู่ถุงลมในปอดเพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกายทางลมหายใจออก โดยเฉลี่ยเม็ดเลือดแดงจะมีชีวิตอยู่ในกระแสเลือดประมาณ วัน หลังจากนั้นจะถูกส่งไปทำลายที่ตับและม้าม 

84   -  เซลล์เม็ดเลือดขาว  มีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง ภายในมีนิวเคลียส ทำหน้าที่ทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย  -  เกล็ดเลือด  เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ที่มีรูปร่างเป็นแผ่นเล็กๆปนอยู่ในน้ำเลือด ไม่มีนิวเคลียส มีหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัว เวลาเกิดบาดแผลเล็กๆเกล็ดเลือดจะทำให้เส้นใย ( fibrin ) ปกคลุมบาดแผลทำให้เลือดหยุดไหล เป็นการป้องกันไม่ให้ร่างกายเสียเลือดมากเกินไป เกล็ดเลือดจะมีอายุอยู่ได้ประมาณ 4 วัน

85 รูปแสดงการหมุนเวียนเลือด

86 2. เส้นเลือด ( blood vessels )
 เส้นเลือดในร่างกายคนแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ   -  เส้นเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจ เรียกว่า อาร์เทอรี ( Artery )   -  เส้นเลือดที่นำเลือดเข้าสู่หัวใจ  เรียกว่า เส้นเวน ( Vein )   - เส้นเลือดฝอย ( Capillaries )

87 เส้นเลือดอาร์เทอรี  เป็นเส้นเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจ มีขนาดต่างๆกัน ขนาดใหญ่คือ เอออร์ตา มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว และขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.2 มิลลิเมตร ไม่มีลิ้น เส้นเลือดอาร์เทอรี ประกอบด้วยกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อที่ยืดหยุ่นได้ มีผนังหนา

88 สามารถรับแรงดันเลือด ซึงเป็นแรงดันค่อนข้างสูง อันเป็นผลเนื่องมาจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย ความดันของเลือดจะสูงมากในเส้นเลือดอาร์เทอรีใกล้หัวใจ คือ เส้นเลือดแดงใหญ่ที่สุดที่เรียกว่า เอออร์ตา และค่อยๆลดลงตามลำดับเมื่ออยู่ห่างจากหัวใจไปเรื่อยๆจนถึงอวัยะต่างๆดังนั้นการวัดความดันเลือด เส้นเลือดที่เหมาะสำหรับวัดความดันเลือดคือเส้นอาร์เทอรีที่ต้นแขน

89 ผู้ใหญ่อายุ ปี มีความดันเลือดปกติประมาณ 120/80 มิลลิเมตรปรอท ตัวเลขข้างหน้า ( 120 )หมายถึง ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว เรียกว่าความดันซิสโทลิก ( Systolie pressure ) ตัวเลขข้างหลัง( 80 ) หมายถึงความดันโลหิตของหัวใจคลายตัว เรียกว่า ความดันไดแอสโทลิก ( Diastolie pressure )

90 ที่เรียกว่า การจับชีพจร ซึ่งชีพจร ( pulse ) หมายถึงอัตราการเต้นของหัวใจ จังหวะการหยืดหยุ่นของเส้นเลือดอาร์เทอรีเป็นไปตามจังหวะการเต้นของหัวใจ สำหรับการเต้นของหัวใจปกติประมาณ 72 ครั้งต่อนาที แต่อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามลักษณะต่างๆ เช่น เพศ วัย อิริยาบท โรคภัยไข้เจ็บ เป็นต้น

91 ลักษณะภายในของหัวใจ

92  3. หัวใจ ( heart ) หัวใจจะทำหน้าที่สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย โดยจะรับเลือดที่มีออกซิเจนสูงจากปอดเข้าทางหัวใจห้องบนซ้ายผ่านต่อมายังหัวใจห้องล่างซ้าย เพื่อส่งออกไปยังอวัยวะต่างๆของร่างกายและจะรับเลือดที่มีออกซิเจนน้อย

93 จากส่วนต่างๆของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจทางหัวใจห้องบนขวา และผ่านไปยังหัวใจห้องล่างขวาเพื่อส่งไปยังปอด เลือดที่มีออกซิเจนต่ำจะไปยังปอดเพื่อรับออกซิเจนและกลับเข้าสู่หัวใจอีกครั้งหมุนเวียนตลอดเวลาอย่างเป็นระบบ หรือกล่าวได้ว่าเลือดดำ ( เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนต่ำ )จากส่วนต่างๆ ของร่างกายไหลเข้าหัวใจทางหัวใจห้องบนขวาโดยเลือดจากส่วนบนของร่างกายจะเข้าสู่หัวใจทางเส้นเลือดซุปิเรียเวนาคาวาและเลือดจากส่วนล่างของร่างกายจะเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาทางเส้นเลือดอินพีเรียเวนาคาวา

94 จากนั้นหัวใจห้องบนขวาจะหดตัวให้เลือดผ่านลิ้นหัวใจลงสู่หัวใจห้องล่างขวาแล้วหัวใจห้องล่างขวาจะบีบตัวให้เลือดไปเข้าไปในเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรีจากหัวใจไปยังปอด เลือดดำจะผ่านเข้าไปในเส้นเลือดฝอยรอบๆถุงลมปอด แล้วจ่ายคาร์บอนไดออกไซด์ให้กับถุงลมปอดแล้วรับแก๊สออกซิเจนเข้ามาแทนเป็นผลให้เลือดดำกลายเป็นเลือดแดง ( เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนสูง )

95 แล้วไหลออกจากปอดเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายทางเส้นเลือดพัลโมนารีเวนจากนั้นหัวใจห้องบนซ้ายจะบีบเลือดลงไปที่หัวใจห้องล่างซ้าย เพื่อให้หัวใจห้องล่างซ้ายบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายต่อไป

96 จากนั้นหัวใจห้องบนขวาจะหดตัวให้เลือดผ่านลิ้นหัวใจลงสู่หัวใจห้องล่างขวาแล้วหัวใจห้องล่างขวาจะบีบตัวให้เลือดไปเข้าไปในเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรีจากหัวใจไปยังปอด เลือดดำจะผ่านเข้าไปในเส้นเลือดฝอยรอบๆถุงลมปอด แล้วจ่ายคาร์บอนไดออกไซด์ให้กับถุงลมปอดแล้วรับแก๊สออกซิเจนเข้ามาแทนเป็นผลให้เลือดดำกลายเป็นเลือดแดง ( เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนสูง )


ดาวน์โหลด ppt โครงสร้างและการทำงานของสัตว์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google