สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนาม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
Entity-Relationship Model E-R Model
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ทบทวนอสมการกำลัง 1 การหาเซตคำตอบของ อสมการ ตัวอย่า ง.
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ข้อสอบ จำนวนเชิงซ้อน.
ประสบการณ์จาก … คณะสู่หอกลาง by....JIM สืบเนื่องจากนโยบายของสถาบัน ฯ ที่มีการยุบรวมห้องสมุดจาก คณะต่าง ๆ มารวมไว้กับสำนักหอสมุดกลาง และได้เพิ่มพื้นที่อีกหนึ่ง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ศิลปะโรมัน (ROMAN ART)
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
การศึกษาประเภทเสียงและความหมายของคำในกลุ่มภาษาต่างประเทศ
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook for Teacher)
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
Continuous Quality Improvement
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น Gifted อย่างพวกเรา จะเรียนง่ายๆ ไปทำไมกันล่ะครับ มาเรียนแบบที่ซับซ้อนดีกว่า มันส์เด้อ...ขอบอก

มารู้จัก พหุนามก่อนนะครับ จากรูปพหุนาม เรียก a0 ว่า สัมประสิทธิ์นำ (leading Coefficient) ถ้า an  0 เราจะเรียก n ว่า กำลัง (Degree) เขียนแทนด้วย deg P(x) ถ้าพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์นำ = 1 เรียกว่า พหุนามโมนิก (Monic Polynomial)

เบๆ มากเลยเรื่องนี้ เรียนตั้งแต่ ม.ต้นละ แต่ขอทบทวนอีกสักรอบละกัน สมการเชิงเส้น (Linear Equation) ax + b = 0 รากของสมการ x = สมการพหุนามกำลังสอง (Quadratic Equation) 1) x2 – a2 = (x – a)(x + a) 2) x2 – (a + b)x + ab = (x – a)(x – b) 3) ถ้า r เป็นรากของพหุนามกำลังสอง P(x) = ax2 + bx + c แล้ว P(x) = P(x) – P(r) = (x – r)(ax + ar + b)

มาทบทวนเรื่องสมการพหุนามกำลังสอง อีกหน่อยนะจ๊ะ... รูปมาตรฐาน ax2 + bx + c = 0 ; a, b, c  R, a  0 อาศัยการทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์และผลต่างกำลังสอง จะได้ เราเรียก b2 – 4ac ว่า ดีสคริมิแนนต์ (Discriminant) = D ถ้า D > 0 แสดงว่ารากทั้งสองเป็นรากจริง ถ้า D < 0 แสดงว่ารากทั้งสองเป็นรากเชิงซ้อน ถ้า D เป็นกำลังสองสมบูรณ์ รากทั้งสองเป็นรากตรรกยะ (มีคำตอบเดียวคือ )

เรามีเทคนิคในการแก้สมการเทคนิคหนึ่งคือ “การเปลี่ยนตัวแปร” Ex...Solve the equation สมมติให้ a = x(x + 2) = x2 + 2x จาก (x + 1)2 = x2 + 2x + 1 ดังนั้น จะได้ a + 1 สมการที่กำหนดจึงเปลี่ยนเป็น a2 + a – 12 = 0 แยกตัวประกอบ (a +4)(a – 3) = 0 a = -4, 3

ต่อ...ปายยย เปลี่ยนสมการกลับคืน จะได้ x2 + 2x = 3 หรือ x2 + 2x = -4 x2 + 2x – 3 = 0 หรือ x2 + 2x + 4 = 0 (x + 3)(x – 1) = 0 หรือ x = -3, 1 หรือ ไม่มีจำนวนจริงเป็นคำตอบ ดังนั้น เซตคำตอบของสมการ คือ {-3, 1} ANS

ท่านๆทั้งหลายลองเอากลับไปคิดเด้อ Solve the equation (x2 + 2x)2 – (x + 1)2 = 55 x4 – 13x2 + 36 = 0 THINK 1 ท่านๆทั้งหลายลองเอากลับไปคิดเด้อ

เมื่อกี้นะครับ ง่ายมากเลยครับ มาดู นี่สิ มันส์ ของจริงเลยกับสมการพหุนาม 2 รูปแบบที่เราควรรู้ เพราะจะได้เป็นพื้นฐานในการเรียนค่ายโอฯ และการเรียนในระดับสูงต่อไป มาหนุกหนาน’ กับ พหุนามกำลังสี่บางรูปแบบ กับ พหุนามส่วนกลับครับ

การหารากของสมการกำลังสี่บางรูปแบบ สมการรูปแบบ (x – a)(x – b)(x – c)(x – d) = e ; a, b, c, d, e เป็นค่าคงที่ โดยที่ a + b = c + d สามารถจัดสมการที่กำหนดได้ในรูป [x2 + (a + b)x + ab][x2 + (c + d)x + cd] = e ดำเนินการหารากของสมการ โดยการเปลี่ยนตัวแปรใหม่ โดยให้ y = x2 + (a + b)x จะได้สมการในรูป (y + ab)(y + cd) = 0 จะเป็นสมการพหุนามกำลังสองที่สามารถหาคำตอบได้ เย้!

จากทฤษฎีที่กล่าวมา งงกันล่ะสิ แน่นอน เพราะฉะนั้นมาวินิจฉัยตัวอย่างดีก่า Ex...จงหารากของสมการ (x – 5)(x – 7)(x + 6)(x – 4) = 504 วิธีทำ จับคู่ (x – 5) กับ (x + 4) และ (x – 7) กับ (x + 6) จะได้ 504 = (x2 – x – 20)(x2 – x – 42) = [(x2 – x) – 20][(x2 – x) – 42] ให้ y = x2 – x = (y – 20)(y – 42) 504 = y2 – 62y + 840 0 = y2 – 62y + 336 0 = (y – 6)(y – 56)

ต่อ...ปายยย เปลี่ยนสมการกลับคืน จะได้ 0 = (x2 – x – 6)(x2 – x – 56) 0 = (x – 3)(x + 2)(x – 8)(x + 7) x = 3, -2, 8, -7 ดังนั้น เซตรากของสมการ คือ {-7 , -2, 3, 8} ANS

มาดูอีกสักรูปแบบนะครับ สมการในรูปแบบ (x + a)4 + (x + b)4 = c ; a, b, c เป็นค่าคงที่ หลักการ 1) สร้างความสมดุลระหว่างพจน์ 2) ใช้เอกลักษณ์พีชคณิตที่ว่า (a + b)2 + (a – b)2 = 2(a2 + b2) พิสูจน์เอกลักษณ์กันก่อน (a + b)2 + (a – b)2 = (a2 + 2ab + b2) + (a2 – 2ab + b2) = 2a2 + 2b2 = 2(a2 + b2)

ดูแล้ว ง งู สองตัว งง แน่นอน 100% มาลองดูตัวอย่างก่อนนะ Ex...จงหารากของสมการ (1 – x)4 + (1 + x)4 = 82 วิธีทำ 82 = [(1 – x)2]2 + [(1 + x)2]2 = [x2 – 2x + 1]2 + [x2 + 2x + 1]2 = [(1 + x2) – 2x]2 + [(1 + x2) + 2x]2 ใช้เอกลักษณ์พีชคณิต (a – b)2 + (a + b)2 = 2(a2 + b2) = 2[(1 + x2)2 + 4x2] 41 = x4 + 2x2 + 1 + 4x2 0 = x4 + 6x2 – 40 0 = (x2 + 10)(x2 – 4)

ต่อ...ปายยย x2 + 10 = 10 หรือ x2 – 4 = 0 x2 = -10 หรือ x2 = 4 x = หรือ x = 2 ดังนั้น เซตรากของสมการ คือ {2, } ANS

จากตัวอย่าง เราจำเป็นต้องใช้ความสมดุลระหว่างพจน์ (1 - x) กับ (1 + x) คือมีระยะทางเท่ากัน ทำให้ใช้เอกลักษณ์ไม่ได้ ถ้าเราจะแก้สมการ (x + 1)4 + (x - 3)4 = 256 ไม่ได้เด้อ ดังนั้นถ้าจะหารากของสมการในรูปแบบ (x + a)4 + (x + b)4 = c โดยที่ a, b, c เป็นค่าคงตัว เราต้องเปลี่ยนสมการให้อยู่ในรูปสมดุล โดยการหาค่าคงตัว d ที่ทำให้... y + d = x + a และ y - a = x + b เราจะได้ หรือ คือ y เป็นค่าเฉลี่ยของ (x + a) และ (x + b) ทำให้ได้สมการใหม่ คือ (y + d)4 + (y – d)4 = e

งง อีกแล้ว ไม่เป็นไร มาดูตัวอย่าง ดีก่า Ex...จงหารากของสมการ (x + 1)4 + (x - 3)4 = 256 วิธีทำ เราหาสมการใหม่ y โดยหาค่าเฉลี่ยของ x + 1 กับ x – 3 ทำให้ได้ x = y + 1 เมื่อแทนในสมการที่กำหนด จะได้สมการในรูปสมดุล ได้เป็น [(y + 1) + 1]4 + [(y + 1) – 3]4 = 256 หรือ (y + 2)4 + (y – 2)4 = 256

เข้าทางเรา งุงิ งุงิ 256 = [(y + 2)2]2 + [(y - 2)2]2 = [y2 + 4y + 4]2 + [y2 – 4y + 4]2 = [(y2 + 4) + 4y]2 + [(y2 + 4) – 4y]2 ใช้เอกลักษณ์พีชคณิต (a – b)2 + (a + b)2 = 2(a2 + b2) = 2[(y2 + 4)2 + 16y2] 128 = y4 + 8y2 + 16 + 16y2 0 = y4 + 24y2 – 112 0 = (y2 + 28)(y2 – 4)

ต่อ...ปายยย y2 + 28 = 0 หรือ y2 - 4 = 0 y2 = -28 หรือ y2 = 4 y = หรือ y = 2 ดังนั้น เซตรากของสมการ คือ {2, } ANS แทนค่ากลับคืน จาก y = x – 1 ; x = y + 1 x = 2 + 1 , + 1 x = 3, -1, 1 ANS เย้!

ประยุกต์นิดนึงนะ ข้อนี้ Solve the equation (x + 3)(x + 5)(x – 2)(x – 4) = 120 (x – 2)(x + 3)(x + 6)(x +1) + 56 = 0 (2x – 7)(x2 – 9)(2x – 5) – 91 = 0 (x + 1)4 + (x + 5)4 = 82 (2x – 1)4 + (2x + 1)4 = - 8 (x – 12)4 + (x – 7)4 = 96 ประยุกต์นิดนึงนะ ข้อนี้ จงแก้ระบบสมการ x4 + y4 = 56 x - y = 2 THINK 2 ลองไปกึ๊ดดูเน้อ

x4 + x3 + x2 + x + 1 = พหุนามส่วนกลับ พหุนามส่วนกลับ (Reciprocal Polynomials) สังเกตว่าเราอาจหารากของพหุนาม x4 + x3 + x2 + x + 1 โดยสังเกตจากความสมมาตรของสัมประสิทธิ์ช่วยลดงานการหารากของพหุนาม โดยการจัดรูปสมการ x4 + x3 + x2 + x + 1 = = = = และใช้สูตร

นั่นคือ พหุนามส่วนกลับ คือ พหุนามที่มีความสมมาตรของสัมประสิทธิ์ นิยาม นิยาม เรียกพหุนาม P(x)= anxn + an-1xn-1 + … + a1x + a0 ว่าพหุนามส่วนกลับ ถ้า a1 = an-1 สำหรับทุก I = 0, 1, …, n นั่นคือ พหุนามส่วนกลับ คือ พหุนามที่มีความสมมาตรของสัมประสิทธิ์ และเราจะเรียกสมการ P(x) = 0 ว่า สมการส่วนกลับ (Reciprocal Equation) ถ้า P(x) เป็นพหุนามส่วนกลับ ตัวอย่าง x2 + 1, x5 + 3x3 + 3x2 + 1

สมบัติของพหุนามส่วนกลับ 1. ถ้า P(x) เป็นพหุนามกำลัง n ซึ่ง a0  0 แล้ว P(x) เป็นพหุนามส่วนกลับ ก็ต่อเมื่อ P(x) = 2. ถ้า P(x) เป็นพหุนามส่วนกลับที่มีกำลังเป็นกำลังคู่ 2n แล้ว P(x) = xng(z) โดยที่ z = x + 3. P(x) = xng(z) โดยที่ z = x + ถ้า P(x) เป็นพหุนามส่วนกลับที่มีกำลังเป็นจำนวนคี่แล้ว (x + 1)P(x) และผลหารจะเป็นพหุนามส่วนกลับที่มีกำลังเป็นจำนวนคู่ 4. ถ้า a เป็นรากของสมการส่วนกลับแล้ว a  0 และ ก็จะเป็นรากของสมการส่วนกลับนั้นด้วย

THINK 3 ลองไปกึ๊ดดูเน้อ