การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุป assignment ที่ 1 มีทั้งหมด สอง file เป็น slide ประกอบเสียงเปิด เสียงฟังดังๆ จะเปลี่ยนรูปเอง โดยอัตโนมัติค่ะ.
Advertisements

การทดสอบก่อนการออกกำลังกาย (EXERCISE TESTING)
โรคอ้วนและการออกกำลังกาย
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค ธ.ค 2544 Complications.
ธาตุเหล็กกับการเรียนรู้ ผลกระทบต่อ คุณภาพเด็กไทย
Salyavit Chittmittrapap
The Effect of Angiotensin II Receptor Blocker on Peritoneal Membrane Transports in Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis Patients นางสาวมนสิชา บัวอ่อน.
Impact of provider payment systems on medical practice variations and health outcomes among three public health insurance schemes in Thailand Phusit.
Reduce and Prevent exacerbation in COPD patients: Is it easy?
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงาน และผลงานเด่น/ นวัตกรรม SP สาขาโรคไต
การประชุมวิชาการ การดูแลผู้ป่วยไตเรื้อรัง
Center of Excellence in Immunology & Immune-mediated diseases ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านภูมิคุ้มกันวิทยาและโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน.
วิจัย Routine to Research ( R2R )
หลักการให้โปรแกรมการออกกำลังกาย
Exercise Prescription & Designing Program
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ
Dr. Wongsakorn Boonkarn Medicine
พัฒนารายการตรวจทางเคมีคลินิกเพื่อติดตามเฝ้าระวังโรคไตในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีในสถาบันบำราศนราดูร บุษกร สันติสุขลาภผล ศิริรัตน์ ลิกานนท์สกุล พจนียา.
สาขา 13 รับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ
Case study 4 Iron overload in thalassemia intermedia
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
2. สมรรถภาพทางกายเสื่อม
Incidence and Progression of CKD in Thai-SEEK population:
การส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล ในโรงพยาบาล RDU Hospital
จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)
ประเด็น แหล่งทุน โครงการวิจัย ระบบการดูแลผู้สูงอายุ วช.
Burden of disease measurement
ข้อมูลสำคัญในการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก: มุมมองและความหมาย
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
คุณภาพชีวิตและปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต
Service Plan in Kidney Disease
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
ปีงบประมาณ 2556 งบการดูแลผู้ป่วยรายโรค การเข้าถึงยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง ทิศทางนโยบาย
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมเพื่อการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง Factors Related to Readiness for Hospital Discharge.
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
ทำอย่างไรถึงจะมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ มากกว่า 200 เรื่อง
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
Science For Elementary School Teachers I.
วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้โปรแกรมการออกกำลังกายต่ออาการเหนื่อยล้าของผู้ป่วยมะเร็ง เม็ดเลือดขาวมัยอีลอยด์ชนิดเฉียบพลันที่รับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยยาเคมีบำบัด.
ระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ ของ
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล
พื้นที่และ เส้นรอบรูปวงกลม.
พระพุทธศาสนา.
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
การออกกำลังกายตา.
การจัดการโรคไตเรื้อรัง CKD management
โครงการชลประทานมุกดาหาร Work Smart Award 2017 สำนักงานชลประทานที่ 7
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ในการเขียน แบบ ก.พ.อ 03 ปรับปรุง / 2
การศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Public Health Nursing/Community Health Nursing
รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
อุทธรณ์,ฎีกา.
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
การบริหารกล้ามเนื้อปากและใบหน้า Oral – motor exercise
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
การตั้งมาตรฐานคุณภาพ
ประมวลภาพงานวันป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๗ รำลึกครบรอบ ๑๐ ปี สึนามิ เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ อนุสรณ์สถานสึนามิบ้านน้ำเค็ม.
ขอชื่นชมอาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ที่มีผลงานวิชาการ นำเสนอในเวทีระดับชาติ และตีพิมพ์ในวารสาร TCI ประจำปี พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง Exercise in chronic kidney disease patient กภ.ดุจดาว สกุลเวศย์ นักกายภาพบำบัด โรงพยาบาลยโสธร

เนื้อหา “โรคไตเรื้อรัง” คืออะไร? การออกกำลังกายกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ข้อห้าม ข้อระวังในการออกกำลังกายผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง รูปแบบการออกกำลังผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง สาธิตรูปแบบการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

“โรคไตเรื้อรัง” คืออะไร? “การทำงานขอไตเสื่อมลงมากกว่า 3 เดือน” โดยมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. ผู้ป่วยมีการตรวจพบสิ่งผิดปกติ 2 ครั้ง ใน 3 เดือน - ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ ≥ 1+ อย่างน้อยครั้ง ในเวลา 3 เดือน - ตรวจพบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะอย่างน้อย 2 ครั้ง ในเวลา 3 เดือน - ตรวจพบเกลือแร่ที่เกิดจากท่อไตผิดปกติ 2. ตรวจพบความผิดปกติทางรังสีวิทยา 3. ตรวจพบความผิดปกติทางโครงสร้าง หรือพยาธิสภาพจากผลการเจาะเนื้อเยื่อไต 4. ผู้ป่วยมีค่า eGFR ‹ 60 มล./1.73 ตารางเมตร ติดต่อกันนานเกิน 3 เดือน

Atiporn Ingsathit et al. 2009 สาเหตุ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรค SLE ตรวจพบนิ่วในไต โรคหัวใจ และหลอดเลือดหัวใจ อายุมากกว่า 60 ปี โรคติดเชื้อในกระแสเลือดที่อาจก่อให้เกิดโรคไต โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำๆหลายๆครั้ง พันธุกรรม ผู้ที่ใช้กลุ่มยาแก้ปวดประเภท NSIAD เป็นประจำ โรคเก๊าท์ Atiporn Ingsathit et al. 2009

ระยะของโรค 1. eGFR 2. โปรตีนในปัสสาวะ

อาการ และอาการแสดง อาการเตือนของโรค ปัสสาวะบ่อย และมากในตอนกลางคืน ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขุ่น ปวดหลัง ปวดเอว อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย อาการของโรคไตเรื้อรัง บวมตามตัว หอบเหนื่อย ซีด เลือดออกง่าย ความดันโลหิตสูง ควบคุมยาก ซึม ชัก หมดสติ เสียชีวิตได้

การออกกำลังกายกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง? ทำไมต้องออกกำลังกาย? Exercise Anemia Malnutrition Osteodystophy ดัดแปลงจาก Shannon Lennon-Edwardsit . 2014

ประโยชน์ของการออกกำลังกาย Neil A. Smart et al., 2013

ประโยชน์ของการออกกำลังกาย เพิ่ม exercise capacity (VO2 max) คง หรือลดความดันโลหิต กรณีมีผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดไขมันในเลือด ลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน หรือความคุมน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน เพิ่มความแข็งแรง และทนทานของกล้ามเนื้อ ลดความเครียด และวิตกกังวน ลดอัตราการตาย จาก cardiac event เพิ่มคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการเข้ากิจกรรมทางสังคม

ข้อห้ามในการออกกำลังกาย สุขภาพเปลี่ยนไป เช่น ท้องเสีย น้ำตาลในเลือดเพิ่ม หอบหืด คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ (EKG abnormal) น้ำหนักตัวเพิ่มหลังวันฟอกไต มากกว่า 4 กิโลกรัม อยู่ในช่วงที่แพทย์กำลังปรับยา หัวใจเต้นผิดจังหวะ ใจสั่น หรือเจ็บหน้าอก มีไข้ ปวดกล้ามเนื้อ หรือปวดข้อ ภาวะน้ำท่วมปอด อากาศร้อนจัด American College of Cardiology Foundation, AHA

หยุดออกกำลังกาย เมื่อ? หน้ามืด เดินเซ วิงเวียนคล้ายจะเป็นลม หายใจลำบาก หรือหายใจไม่อิ่ม เจ็บหน้า หรือใจสั่น เป็นตะคริว หรือกล้ามเนื้ออ่อนล้า ปวดข้อ หรือกล้ามเนื้อ หน้าซีด หรือปากคล้ำ

รูปแบบการออกกำลังกาย เหมือนบุคคลทั่วไป โดยเลือกชนิด และกิจกรรมให้เหมาะสม Flexibility exercise Strengthening exercise Aerobic exercise

การออกกำลังกายแบบยืดหยุ่น Flexibility exercise คือ การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย วิธีการ ยืดค้างเมื่อมีความรู้สึกตึงกล้ามเนื้อ ค้างไว้ ณ จุดตึง 15 – 20 วินาที ทำซ้ำ ท่าล่ะ 5 - 10 ครั้ง ก่อน และหลังออกกำลังกาย

การออกกำลังกายแบบมีแรงต้านResisted exercise คือ การออกกำลังกายแบบมีแรงต้านเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของร่างกาย วิธีการ ท่าละ 10 - 15 ครั้ง อย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ * ระวังผู้ป่วยกลั้นหายใจ ขณะออกกำลังกาย

การออกกำลังกายแบบแอโรบิคAerobic exercise คือ การออกกำลังกายกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ซ้ำๆ มีรูปแบบ ต่อเนื่อง มากกว่า 20 นาที

การควบคุมระดับความหนักในการออกกำลังกาย Rate of Perceived Exertion; RPE ระดับความเหนื่อยปานกลาง Talk test พูดคำต่อเนื่อง 7 คำ เช่น “ฉันกำลังสบายดีอยู่”

สาธิตโปรแกรมออกกำลังกาย Flexibility exercise 1. เอื้อมแขนไปด้านหน้า 2. อ้าศอกไปด้านหลัง หุบศอกมาด้านหน้า

Flexibility exercise 3. กอดเข่าชิดอก พยายามให้หลังตรง 4. เหยียดขาที่จะยืดไว้ด้านหลัง โน้มตัวงอเข่าอีกข้างไปทางด้านหน้า

Resisted exercise 1. งอ - เหยียดศอก 2. กาง – หุบแขน

Resisted exercise 3. ยกแขน ขึ้น - ลง 4. งอสะโพก ขึ้น - ลง

Resisted exercise 5. เหยียดสะโพกไปด้านหลัง 6. ย่อเหยียดเขา

Resisted exercise 7. เขย่งเท้า ขึ้น - ลง

เอกสารอ้างอิง ผศ.ดร.พญ.อติพร อิงค์สาธิต, นพ.ธีรยุทธ เจียมจริยาภรณ์.คู่มือการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น. กรุงเทพฯ: 2555. Atiporn Ingsathi et al. Prevalence and risk factors of chronic kidney disease in the Thai adult population: Thai SEEK study. Nephrol Dial Transplant (2009) 1 of 9. Neil A. Smart, Andrew D.Willianms et al. Exercise & Sports Science Australia (ESSA) position statement on exercise and chronic kidney disease. Journal of Science and Medicine in Sport 16 (2013) 406–411. Patricia Painter.ACSM’s resource manual for guildelines for exercise testing and prescription.Exercise in patient with end – stage renal disease 34:480-487, 2006