บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สินค้าคงเหลือ - วิธีราคาทุน
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
การวิเคราะห์ต้นทุนผสม
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 6 งบประมาณ.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 7 งบประมาณ.
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
บทที่ 13 นโยบายเงินปันผล (DIVIDENE POLICY)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
Integrated Information Technology
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 4 ต้นทุนของเงินทุน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
1.
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
บทที่ 6 การปันส่วนต้นทุนและต้นทุนฐานกิจกรรม
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
สินค้าคงเหลือ-การวัดมูลค่าวิธีอื่น
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
การวิเคราะห์งบการเงิน
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การบัญชีสำหรับ กิจการขายผ่อนชำระ
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร 1. ข้อสมมติฐานในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ต้นทุน - ปริมาณ-กำไร 2. ประโยชน์การวิเคราะห์ของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ต้นทุน - ปริมาณ-กำไร 3. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน-ปริมาณ-กำไร 4. การวิเคราะห์ส่วนผสมการขาย 5. ผลกระทบของภาษีเงินได้ 6. โครงสร้างต้นทุนที่เหมาะสม 7. ภาระผูกพันในการดำเนินงาน

ข้อสมมติฐานในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของต้นทุน - ปริมาณ - กำไร 1. พฤติกรรมของเส้นรายได้เป็นเส้นตรง(linear function) ราคาสินค้าหรือ บริการไม่เปลี่ยนแปลงเหมือนปริมาณการขาย 2. พฤติกรรมของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเป็นลักษณะเส้นตรง โดยสมมติว่า ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นสามารถแบ่งส่วนเป็นค่าใช้จ่ายคงที่ (Fixed) ผันแปร (Variable) โดยที่ 2.1 ค่าใช้จ่ายคงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ และค่าใช้จ่ายผันแปรต่อหน่วยจะไม่ เปลี่ยนแปลงไปตามระดับกิจกรรม 2.2 ประสิทธิภาพ และความสามารถในการผลิตสินค้า และคนงานคงที่สม่ำเสมอ

ข้อสมมติฐานในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของต้นทุน - ปริมาณ - กำไร 3. กรณีมีการผลิตผลิตภัณฑ์หลายๆ ชนิดหรือผลิตภัณฑ์ร่วมให้ถือว่า ส่วนผสมการขายผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง 4. การเปลี่ยนแปลงในสินค้าคงเหลือต้นงวดและปลายงวดไม่คำนึงถึง จำนวยหน่วยผลิตระหว่างงวดเท่ากับจำนวนหน่วยขาย 5. ต้นทุนทั้งหมดจะต้องแบ่งให้เป็นต้นทุนคงที่กับต้นทุนผันแปร

ประโยชน์ของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของต้นทุน - ปริมาณ - กำไร 1. ใช้ในการกำหนดราคาขาย 2. ใช้ในการกำหนดปริมาณขาย ว่าจะต้องขายให้ได้เท่าไรจึงจะคุ้มทุน หรือให้ได้กำไรตามเป้าหมาย 3. ใช้ในการกำหนดส่วนผสมการขายเพื่อให้ได้กำไรตามเป้าหมาย 4. ใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเพิ่มลดสายผลิตภัณฑ์ การขยายกำลัง การผลิต การซื้อหรือผลิตเอง 6. ใช้ในการกำหนดต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ เพราะการเปลี่ยนแปลงในปัจจัยดังกล่าวมีผลกระทบต่อจุดคุ้มทุน

จุดคุ้มทุนหรือจุดเสมอตัว จุดคุ้มทุนคือ การหาจำนวนหน่วยขาย ที่ทำให้ยอดขายรวมเท่ากับค่าใช้จ่ายรวม/ต้นทุนทั้งหมด จึงเป็นจุดที่ไม่มีกำไรหรือขาดทุนเกิดขึ้น

การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน 1. วิธีกำไรส่วนเกิน (Contribution – Margin Approach) 2. วิธีสมการ (Equation Approach) 3. วิธีกราฟ (Graphical Approach)

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน-ปริมาณ-กำไร การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน บริษัทโดมทอง จำกัด เป็นผู้ผลิตสินค้าเซรามิก ซึ่งเราสามารถนำแนวคิดของกำไรส่วนเกินมาแสดงได้ในลักษณะต่างๆ ดังนี้ ต่อหน่วย ยอดรวม อัตราร้อยละ ขาย(1,000 หน่วย) 20 20,000 100 หัก ต้นทุนผันแปร 8 8,000 40 กำไรส่วนเกิน 12 12,000 60 หัก ต้นทุนคงที่ 6,000 กำไรสุทธิ 6,000

การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน วิธีกำไรส่วนเกิน (Contribution Margin Approach) รูปแบบกำไรส่วนเกิน กำไรส่วนเกิน (CM) = ยอดขาย (P) – ต้นทุนผันแปร (VC) กำไรส่วนเกินรวมCM = S – VC = 20,000 – 8,000 = 12,000 บาท กำไรส่วนเกินต่อหน่วย UCM = P – VC = 20 – 8 = 12 บาท อัตรากำไรส่วนเกิน CMR = CM UCM S P = 20,000 / 20,000 = 60%

การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน สัญลักษณ์ใช้สำหรับการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน P =Price = ราคาขายต่อหน่วย Q = Quantity = จำนวนหน่วยที่ผลิตหรือขาย S = Sale = ยอดขายสินค้า (บาท) FC = Fixed cost = ต้นทุนคงที่(บาท) VC = Variable cost = ต้นทุนผันแปรต่อหน่วยที่ผลิตหรือขาย (บาทต่อหน่วย) P-V = UCM = กำไรส่วนเกินต่อหน่วย Unit contribution margin P-V = CMR = อัตรากำไรส่วนเกิน (%) Contribution margin ratio P

การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน วิธีกำไรส่วนเกิน (Contribution Margin Approach) 1. จุดคุ้มทุน (หน่วย) = ต้นทุนคงที่ Q = FC กำไรส่วนเกินต่อหน่วย P-VC 2. จุดคุ้มทุน (บาท) = ต้นทุนคงที่ S = FC อัตรากำไรส่วนเกิน P-VC P

การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน(ต่อ) วิธีสมการ (Equation Approach) ขาย – ต้นทุนผันแปร – ต้นทุนคงที่ = กำไร วิธีใช้กราฟ (Graphic Approach) 1. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน-ปริมาณ-กำไร 2. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ-กำไร

การวิเคราะห์กำไรที่ต้องการ สูตร หน่วยขายที่ต้องการ = ต้นทุนคงที่ + กำไรที่ต้องการ กำไรส่วนเกินต่อหน่วย หรือ Q = FC + P UCM

การวิเคราะห์กำไรที่ต้องการ สูตร ยอดขายที่ต้องการ = ต้นทุนคงที่ + กำไรที่ต้องการ อัตราส่วนกำไรส่วนเกิน แทนค่า S = FC + P CMR

การวิเคราะห์กำไรที่ต้องการหลังภาษี กำไรก่อนภาษี = 100% กำไรสุทธิ = กำไรก่อนภาษี – ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ = 100 – 20% = 80 % สูตร หน่วยขาย = ต้นทุนคงที่ + กำไรหลังหักภาษี 1 – อัตราภาษี กำไรส่วนเกินต่อหน่วย

ส่วนเกินที่ปลอดภัย ส่วนเกินที่ปลอดภัย = ยอดขายที่ประมาณการ – ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน อัตราส่วนของความปลอดภัย = ส่วนเกินที่ปลอดภัย ยอดขายโดยประมาณการ

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน-ปริมาณ-กำไร(ต่อ) การเปลี่ยนแปลงของต้นทุนคงที่ การเปลี่ยนแปลงของกำไรส่วนเกินต่อหน่วย การหากำไรที่ต้องการ 1. ขาย – ต้นทุนผันแปร – ต้นทุนคงที่ = กำไรที่ต้องการ 2. หน่วยขายที่ต้องการ = (ต้นทุนคงที่ + กำไรที่ต้องการ) กำไรส่วนเกินต่อหน่วย Q = (FC + Profit) S = (FC + Profit) P - VC P – VC P

การวิเคราะห์ส่วนผสมการขาย 1. คำนวณหากำไรส่วนเกินต่อหน่วยถัวเฉลี่ย 2. คำนวณหาจุดคุ้มทุนรวม (หน่วย) 2. คำนวณหาจุดคุ้มทุนของสินค้าแต่ละชนิด (หน่วย) 3. คำนวณหาจุดคุ้มทุนของสินค้าแต่ละชนิด (บาท)

จากข้อมูลของบริษัทข้างต้นและเพื่อให้ง่ายต่อการอธิบาย สมมติว่าไม่มีผลของภาษีเงินได้เข้ามาเกี่ยวข้องในหาจุดคุ้มทุนในครั้ง ซึ่งสามารถแสดงการคำนวณตามขั้นตอนได้จากสูตรดังนี้ 1.คำนวณหาจุดคุ้มทุน(หน่วย)จากกำไรส่วนเกินเฉลี่ยต่อหน่วย ชนิดสินค้า จำนวนสินค้าจำหน่าย ราคาต่อหน่วย ต้นผันแปรต่อหน่วย สินค้าA 30,000 P-VC=10 300,000 สินค้าB 20,000 P-VC=12 240,000 รวม 50,000 540,000

สูตร กำไรส่วนเกินเฉลี่ยต่อหน่วย = กำไรส่วนเกินรวม หน่วยขายรวม = 540,000 50,000 = 11*(คำนวณด้วยการปัดเศษ) จุดคุ้มทุนรวม (หน่วย) = ต้นทุนคงที่รวม กำไรส่วนเกินต่อหน่วยเฉลี่ย = 120,000 11 = 10,909 หน่วย

จุดคุ้มทุนของสินค้า A = = 6,545 หน่วย จุดคุ้มทุนของสินค้า B = = 6,545 หน่วย จุดคุ้มทุนของสินค้า B = = 4,363 หน่วย

สูตร อัตรากำไรส่วนเกินรวม = 2. คำนวณหาจุดคุ้มทุน(บาท)จากอัตรากำไรส่วนเกิน สูตร อัตรากำไรส่วนเกินรวม = = = 0.54 หรือ 54 % สูตร จุดคุ้มทุนรวม (บาท) = = 222,222

จุดคุ้มทุนของสินค้า A = = 133,333 บาท จุดคุ้มทุนของสินค้า B = = 133,333 บาท จุดคุ้มทุนของสินค้า B = = 88,889 บาท เพราะฉะนั้น ยอดขายสินค้าทั้งสองชนิดมียอดขายรวมทั้งสิ้น 222,222 บาท จึงจะเท่ากับจุดคุ้มทุนพอดี

โครงสร้างต้นทุนและประสิทธิภาพกำไร โครงสร้างต้นทุน (cost structure) ขององค์กร ซึ่งมีส่วนที่สำคัญอยู่ 2 อย่างคือ ต้นทุนคงที่ และต้นทุนผันแปร ถ้าผู้บริหารจัดการต้นทุน 2 ประเภทนี้ได้อย่างเหมาะสม อันจะส่งผลให้กำไรของกิจการเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ภาระผูกพันในการดำเนินงาน เป็นเครื่องมือในการวัดขนาดความสัมพันธ์ของต้นทุนคงที่ และต้นทุนผันแปร ทำให้ผู้บริหารทราบถึงลักษณะความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในการดำเนินงาน สูตร DOL (Degree of Operating Leverage) ภาระผูกพันในการดำเนินงาน = กำไรส่วนเกิน กำไรจากการดำเนินงาน

จบบทที่ 3