แนวทางการปรับปรุงการทำงาน ด้านการส่งเสริมการผลิตข้าว ปีงบประมาณ 2561 สัมมนาสรุปผลการดำเนินงาน ปี 2560 และ ทิศทางการดำเนินงานของกรมการข้าว ปี 2561 วันที่ 8 กันยายน 2560 กาญจนบุรี สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว Bureau of Rice Production Extension แนวทางการปรับปรุงการทำงาน ด้านการส่งเสริมการผลิตข้าว ปีงบประมาณ 2561 นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมการผลิตและจัดการผลผลิต นายธนันท์ หาญเกริกไกร
โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวในปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว โครงการ เป้าหมาย งบประมาณ (ล้านบาท) ค.ระบบส่งเสริมการเกษตร แบบแปลงใหญ่ 2,350 แปลง / 150,000 ราย 735.2842 (ตรวจรับรอง 80.0 ) ค.ศูนย์เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร 882 แห่ง/10,020 ราย 18.385 ค.พัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 18,000 ราย 16.6778 ค.เฝ้าระวังและเตือนภัยศัตรูข้าว 51 จุด 6.0 ค.ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 5,760 ราย 22.6925
โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวในปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ (ล้านบาท) กิจกรรมศูนย์บริการชาวนา/mobile 51 แห่ง 3.0 กิจกรรม วันข้าวและชาวนาแห่งชาติ 5 ครั้ง/3,500 ราย 13 กิจกรรม พัฒนาเครือข่ายและองค์กรชาวนา 71 จังหวัด/3,883 ราย 6.0 กิจกรรม สำรองเมล็ดพันธุ์ข้าว 100 ตัน 1.0 กิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน 49 เครือข่าย/2,940 ราย 10.6 รวม 5 โครงการ 5 กิจกรรม 194,103 ราย 832.6395
แนวทางการปรับปรุงการทำงานปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว ลดโครงการและพื้นที่ในการเข้าไปปฏิบัติงาน โดย บูรณาการโครงการ ผ่าน โครงการนาแปลงใหญ่ สนับสนุนเจ้าหน้าที่ผู้ช่วยปฏิบัติงาน และพัฒนาให้มีความรู้ ในการทำงาน พัฒนาชาวนาอาสาเพื่อช่วยในการทำงาน ได้แก่ ชาวนาอาสา ในด้านต่างๆ ดังนี้ เมล็ดพันธุ์ เตือนภัยศัตรูข้าว ดินและปุ๋ย เครื่องจักรกล และ GAP อาสา พัฒนาระบบการรายงานให้สะดวกและรวดเร็ว
พันธุ์ดีและพัฒนาเครือข่าย(ศขช.) แนวทางการปรับปรุงการทำงานปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว นาแปลงใหญ่ ผลิตข้าว มาตรฐาน GAP (2) ผลิตและกระจาย พันธุ์ดีและพัฒนาเครือข่าย(ศขช.) (1) ชาวนาอาสา (SF) (3) เฝ้าระวังเตือนภัย ศัตรูข้าว (4) ชาวนารุ่นใหม่ (6) ศูนย์เรียนรู้ (ศพก./เครือข่าย) (5)
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในพื้นที่เหมาะสม แนวทางการปรับปรุงการทำงานปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว ชายแดนภาคใต้ ผลิตข้าว GAP ฟื้นฟูนาร้าง ชาวนาอาสา (SF) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในพื้นที่เหมาะสม หมู่บ้านต้นแบบ พันธุ์พื้นเมือง
งานริเริ่มใหม่ ในปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว ลดโครงการและพื้นที่ในการเข้าไปปฏิบัติงาน โดย บูรณาการโครงการ ผ่าน โครงการนาแปลงใหญ่ สนับสนุนเจ้าหน้าที่ผู้ช่วยปฏิบัติงาน และพัฒนาให้มีความรู้ ในการทำงาน พัฒนาชาวนาอาสาเพื่อช่วยในการทำงาน ได้แก่ ชาวนาอาสา ในด้านต่างๆ ดังนี้ เมล็ดพันธุ์ เตือนภัยศัตรูข้าว ดินและปุ๋ย เครื่องจักรกล และ GAP อาสา พัฒนาระบบการรายงานให้สะดวกและรวดเร็ว
งานริเริ่มใหม่ ในปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว โครงการนำร่องการบริหารจัดการนาแปลงใหญ่ประชารัฐ โดยใช้เทคโนโลยีเกษตรกรรมความแม่นยำสูง - แปลงต้นแบบ ตำบลหัวเขา อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี พื้นที่ 3,000 ไร่ พื้นที่เป้าหมาย - แปลงขยายผล 20 แปลง จ.เชียงใหม่ จ.กาฬสินธุ์ จ.สุรินทร์ จ.ศรีสะเกษ จ.สกลนคร จังหวัดละ 1 แปลง จ.พิษณุโลก 10 แปลง จ.ราชบุรี 3 แปลง และ จ.เพชรบุรี 2 แปลง
งานริเริ่มใหม่ ในปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว โครงการนำร่องการบริหารจัดการนาแปลงใหญ่ประชารัฐ โดยใช้เทคโนโลยีเกษตรกรรมความแม่นยำสูง วัตถุประสงค์ - ส่งเสริมการบริหารจัดการการผลิตข้าวโดยใช้เทคโนโลยีเกษตรกรรมความแม่นยำสูง - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ยกระดับมาตรฐานการผลิต บริหารจัดการกลุ่ม และผลผลิตตลอดห่วงโซ่อุปทาน การบูรณาการ ทั้งหน่วยงานภายใน/ภายนอกกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ / ภาคเอกชน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - เกิดการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำนาตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ - ลดผลกระทบจากการเสี่ยงภัยด้านต่างๆ - สร้างภาพลักษณ์ใหม่ทางด้านการเกษตรแก่คนรุ่นใหม่
งานริเริ่มใหม่ ในปี 2561 BRPE สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ (Premium grade) - 9 แปลง จ.กาฬสินธุ์ 1 แปลง จ.ยโสธร 2 แปลง จ.ศรีสะเกษ 3 แปลง และ จ.สุรินทร์ 3 แปลง พื้นที่เป้าหมาย วัตถุประสงค์ - ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม - บริหารจัดการกลุ่มผู้ผลิตข้าวมะลิคุณภาพชั้นเลิศ เป้าหมาย - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ - ลดต้นทุน > 20 % เพิ่มผลผลิต > 500 กิโลกรัม/ไร่ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - ได้ผลผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ - มีการบริหารจัดการกลุ่มการผลิตและผลผลิตตลอดห่วงโซ่อุปทาน
-ขอบคุณและสวัสดี-