2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนาม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
ประโยคในภาษาไทย การเขียนประกอบด้วยประโยคต่าง ๆ หลายรูปแบบ หากเข้าใจโครงสร้างของประโยค จะทำให้สื่อความหมายได้ชัดเจน ไม่สับสน ไม่คลุมเครือ และไม่ขาดตกบกพร่อง.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 Probability.
ทบทวนอสมการกำลัง 1 การหาเซตคำตอบของ อสมการ ตัวอย่า ง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
สถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ทรงกระบอก.
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
IP-Addressing and Subneting
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
Number system (Review)
IP-Addressing and Subneting
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
พื้นที่ผิวของพีระมิด
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Driver Service sect. Training. Video ภาพอุบัติเหตุ ที่ 1 สถานที่เกิดเหตุ : ทางด่วนขา เข้าบางนาตราด เวลาโดยประมาณ : 16: 45 น.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
มาฝึกสมองกันครับ.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
Storyboard คืออะไร.
Storyboard คืออะไร.
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
Chapter 3 : Array.
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
Class Diagram.
สื่อประกอบการเรียนการสอน
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง ถ้า ว่า เหตุ - เรียกข้อความที่ตามหลัง แล้ว ว่า ผล ประโยคเงื่อนไขที่ 1 : ถ้าแดงอยู่จังหวัดเชียงใหม่ แล้วแดงอยู่ที่ภาคเหนือของประเทศไทย เหตุ : แดงอยู่จังหวัดเชียงใหม่ ผล : แดงอยู่ที่ภาคเหนือของประเทศไทย

เหตุ : สมชายขาดเรียนเกิน 20 เปอร์เซ็นต์ ผล : สมชายจะไม่ได้เข้าสอบ ประโยคเงื่อนไขที่ 2 : ถ้าสมชายขาดเรียนเกิน 20 เปอร์เซ็นต์ แล้วสมชายจะไม่ได้เข้าสอบ เหตุ : สมชายขาดเรียนเกิน 20 เปอร์เซ็นต์ ผล : สมชายจะไม่ได้เข้าสอบ ประโยคเงื่อนไขที่ 3 : ถ้า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แล้ว ∆ABC มี มุม ๆ หนึ่งเป็นมุมฉาก เหตุ : ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ผล : ∆ABC มีมุม ๆ หนึ่งเป็นมุมฉาก ประโยคเงื่อนไขที่ 4 : ถ้าจำนวนเต็มใดหารด้วย 2 ลงตัว แล้วจำนวนนั้นเป็นจำนวนคู่ เหตุ : จำนวนเต็มใดหารด้วย 2 ลงตัว ผล : จำนวนนั้นเป็นจำนวนคู่ หน้าที่ 10

ประโยคเงื่อนไขต่อไปนี้เป็นจริงหรือไม่เป็นจริง เพราะเหตุใด เมื่อเหตุเป็นจริง แล้วทำให้เกิดผลที่เป็นจริงเสมอ เรียกประโยคเงื่อนไขในลักษณะนี้ว่า ประโยคเงื่อนไขเป็นจริง เมื่อเหตุเป็นจริง แล้วไม่ทำให้เกิดผลที่เป็นจริงเสมอ เรียกประโยคเงื่อนไขในลักษณะนี้ว่า ประโยคเงื่อนไขไม่เป็นจริง หน้าที่ 13 ประโยคเงื่อนไขต่อไปนี้เป็นจริงหรือไม่เป็นจริง เพราะเหตุใด 1) ถ้า a2 = 4 แล้ว a = 2 ตอบ ประโยคเงื่อนไขไม่เป็นจริง เพราะว่า มี a = -2 ที่ทำให้ a2 = 4 2) ถ้า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า แล้ว ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ตอบ ประโยคเงื่อนไขเป็นจริง เพราะว่า ∆ABC มีด้านยาวเท่ากันสามด้าน

3) ถ้า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว แล้ว ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 4) ถ้าสี่เหลี่ยม ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก แล้วสี่เหลี่ยม ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตอบ ประโยคเงื่อนไขไม่เป็นจริง เพราะสี่เหลี่ยม ABCD อาจเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสก็ได้ 5) ถ้า 1 เป็น ห.ร.ม. ของ a และ b แล้วทั้ง a และ b ต้องเป็นจำนวนเฉพาะ ตอบ ประโยคเงื่อนไขไม่เป็นจริง เพราะมีตัวอย่างค้าน เช่น a = 4 และ b = 9 ซึ่งทั้งสองจำนวนไม่เป็นจำนวนเฉพาะ แต่ ห.ร.ม. คือ 1

3. บทกลับของประโยคเงื่อนไข ประโยคเงื่อนไขที่มี P เป็นเหตุ และมี Q เป็นผล จะเขียนว่า “ถ้า P แล้ว Q” ในทางกลับกัน ถ้าสลับที่ P และ Q ในประโยคนี้จะได้ “ถ้า Q แล้ว P” **เรียกประโยค “ถ้า Q แล้ว P” ว่า บทกลับของประโยคเงื่อนไข เช่น ถ้าแดงอยู่จังหวัดเชียงใหม่ แล้วแดงอยู่ที่ภาคเหนือของประเทศไทย บทกลับของประโยคเงื่อนไข : ถ้าแดงอยู่ที่ภาคเหนือของประเทศไทย แล้วแดงอยู่จังหวัดเชียงใหม่

ถ้าประโยคเงื่อนไขใดเป็นจริง แล้วบทกลับของประโยคเงื่อนไขนั้นอาจเป็นจริงหรือไม่เป็นจริงก็ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 ประโยค : ถ้าแดงอยู่จังหวัดเชียงใหม่ แล้วแดงอยู่ที่ภาคเหนือของประเทศไทย บทกลับ : ถ้าแดงอยู่ที่ภาคเหนือของประเทศไทย แล้วแดงอยู่จังหวัดเชียงใหม่ (เป็นจริง) (ไม่เป็นจริง) ตัวอย่างที่ 2 ประโยค : ถ้า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แล้ว ∆ABC มีมุม ๆ หนึ่งเป็นมุมฉาก บทกลับ : ถ้า∆ABC มีมุม ๆ หนึ่งเป็นมุมฉาก แล้ว ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (เป็นจริง) (เป็นจริง)

เมื่อประโยคเงื่อนไขเป็นจริงและมีบทกลับเป็นจริง อาจนำมาเขียนรวมกันเป็นประโยคเดียวโดยใช้คำว่า ก็ต่อเมื่อ เชื่อมประโยคทั้งสองนั้น ประโยค : ถ้า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แล้ว ∆ABC มีมุม ๆ หนึ่งเป็นมุมฉาก (เป็นจริง) บทกลับ : ถ้า∆ABC มีมุม ๆ หนึ่งเป็นมุมฉาก แล้ว ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (เป็นจริง) จากตัวอย่างข้างต้น เขียนได้เป็น “∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ก็ต่อเมื่อ ∆ABC มีมุม ๆ หนึ่งเป็นมุมฉาก”

การบ้าน บทกลับ (หน้าที่ 17) บทกลับ (หน้าที่ 17) ข้อ 2 – 3 ในหนังสือเรียนคณิตศาสตร์เพิ่มเติม

2. ประโยคเงื่อนไขต่อไปนี้เป็นจริง และมีบทกลับเป็นจริง ให้นักเรียนเขียนบทกลับ และเชื่อมประโยคเหล่านั้นด้วย ...ก็ต่อเมื่อ... 1) ประโยคเงื่อนไข : ถ้าสี่เหลี่ยม ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก แล้วสี่เหลี่ยม ABCD มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก ตอบ สี่เหลี่ยม ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ก็ต่อเมื่อ สี่เหลี่ยม ABCD มีมุมทุกมุมเป็นมุมฉาก 2) ประโยคเงื่อนไข : ถ้า a × b = 0 แล้ว a หรือ b อย่างน้อยหนึ่งจำนวนต้องเท่ากับ 0 ตอบ a × b = 0 ก็ต่อเมื่อ a หรือ b อย่างน้อยหนึ่งจำนวนต้องเท่ากับ 0

3. จงแยกประโยค a > b ก็ต่อเมื่อ a = b + c (เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนนับ) ออกเป็นสองประโยคที่อยู่ในรูป “ถ้า P แล้ว Q” และบทกลับ “ถ้า Q แล้ว P” ตอบ ประโยคเงื่อนไข : ถ้า a > b แล้ว a = b + c (เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนนับ) บทกลับ : ถ้า a = b + c แล้ว a > b (เมื่อ a, b และ c เป็นจำนวนนับ)