ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการสอบ O-NET ป. 6 ปี การศึกษา 2556 ร. ร. ภายในกลุ่มฯบ้านโคก เปรียบเทียบกับระดับประเทศ.
Advertisements

การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ e- meeting วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปีการศึกษา 2557 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3.
สพป. พช.3 ป.3. นักเรียนชั้น ป.3 สังกัด สพฐ. / ตำรวจ ตระเวน ชายแดน ด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) กลุ่มเป้า.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
การบริหารการทดสอบระดับชาติ
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
19 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมสักทอง1
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประชุมเตรียมความพร้อม การประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (Reading Test: RT) ชั้นประถมศึกษาที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2560.
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
แนวทางการคัดกรองภาวะซีดในเด็ก และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การนำผลการประเมิน ไปพัฒนาคุณภาพการศึกษา
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
คะแนนและความหมายของคะแนน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
ประชุมการจัดสอบ O-NET2560
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
Elements of Liquid-Level System
รอบสามประเมินกลุ่มตัวบ่งชี้ที่ 1-5)
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
กระบวนการเรียนการสอน
สัญลักษณ์พยากรณ์อากาศ
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
Pattern Blocks.
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2559
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การรับนักเรียนเข้าศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 ของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต1 กับระดับชาติ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2555 - 2558 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 +3.71

แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 ของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 กับระดับชาติ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555 – 2558 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 +2.04

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 ระดับกลุ่มเครือข่ายการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 ระดับกลุ่มเครือข่ายการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

เปรียบเทียบข้อมูลผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2557 และปีการศึกษา 2558

ผลการทดสอบ NT เรียงเครือข่าย

ผลการสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียน 2 ห้อง เพื่อวัดผล ปรากฏว่าค่าเฉลี่ยที่ได้ 2 ห้องใกล้เคียงกัน แต่ค่า SD ต่างกัน จากข้อมูลจะเห็นได้ว่าแม้คะแนนเฉลี่ยจะใกล้เคียงกัน แต่ค่า SD ต่างกันมาก แสดงให้เห็นว่าห้อง B มีเด็กเก่งและไม่เก่ง ส่วนห้อง A จะเก่งใกล้เคียงกันมากกว่า เมื่อวิเคราะห์ผลที่ได้ จะทำให้เห็นว่าถ้าจะสอนห้อง B จะใช้วิธีสอนเหมือนห้อง A ไม่ได้ ต้องแบ่งกลุ่มเด็กอ่อนในห้อง B ออกมาสอนเพิ่มเติมเป็นต้น

มีผลการประเมินที่สูงขึ้นเพื่อให้มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ รายละเอียดของกลุ่มการประเมิน กลุ่ม H1 หมายถึง การจัดการเรียนการสอนในมาตรฐานนี้อยู่ในระดับ ดี กลุ่ม H2 หมายถึง การจัดการเรียนการสอนในมาตรฐานนี้อยู่ในระดับ พอใช้แต่ต้องพัฒนานักเรียนในกลุ่มอ่อนเพื่อให้ค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าน้อยลงกว่าระดับประเทศ กลุ่ม L1 หมายถึง การจัดการเรียนการสอนในมาตรฐานนี้อยู่ในระดับปรับปรุงต้องพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียน มีผลการประเมินที่สูงขึ้นเพื่อให้มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ กลุ่ม L2 หมายถึง การจัดการเรียนการสอนในมาตรฐานนี้อยู่ในระดับต้องปรับปรุงอย่างเร่งด่วน นำข้อมูลผลการวิเคราะห์รายมาตรฐานการเรียนรู้ที่มีปัญหา คือมาตรฐานการเรียนรู้ที่จัดอยู่ในกลุ่มการประเมิน L1 หรือ L2 ซึ่งควรให้บุคลากรของโรงเรียนร่วมกันวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่ส่งผลให้คะแนนเฉลี่ย มีค่าน้อยกว่าระดับประเทศ ในขณะที่ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของโรงเรียนมีค่ามากกว่าระดับประเทศ โดยให้ ทำการพิจารณาที่กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดหน่วยเรียนรู้ หลักสูตรของสถานศึกษา การวัดและประเมินผล ทั้งนี้ควรมีการจัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในมาตรฐานการเรียนรู้นั้นๆเป็นการเฉพาะ โดยจัดทำ แผนยกระดับเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้และภาพรวมของโรงเรียน

ผลการทดสอบ NT ป.3

ตารางเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับชาติและระดับเขตพื้นที่ผลสอบ NT 2558 สพป.แพร่ เขต 1

ผลการทดสอบ NT ความสามารถด้านภาษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 ตัวชี้วัด ระดับเขต ระดับประเทศ กลุ่มประเมิน Mean S.D. ตัวชี้วัดที่ 1 55.56 1.03 48.99 1.07 H1 ตัวชี้วัดที่ 2 59.30 0.87 55.77 0.90 ตัวชี้วัดที่ 3 55.25 1.56 49.94 1.62 ตัวชี้วัดที่ 4 47.62 1.30 43.81 1.31 ตัวชี้วัดที่ 5 49.23 2.10 43.86 2.19 ตัวชี้วัดที่ 6 48.03 1.76 43.68 1.69 H2 เฉลี่ย 51.54 5.95 46.64 6.07

ตัวชี้วัดด้านภาษา ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ตัวชี้วัดที่ 1-5 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี ตัวชี้วัดที่ 6 จัดอยู่ในกลุ่ม H2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใช้แต่ต้องพัฒนาเด็กกลุ่มอ่อนเพื่อให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง

ตัวชี้วัดที่ควรพัฒนา ตัวชี้วัดที่ 6 สื่อสารความรู้ ความเข้าใจข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่านอย่างเหมาะสม

ผลการทดสอบ NT ความสามารถด้านคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 ตัวชี้วัด ระดับเขต ระดับประเทศ กลุ่มประเมิน Mean S.D. ตัวชี้วัดที่ 1 41.09 2.59 39.33 2.58 H2 ตัวชี้วัดที่ 2 46.80 3.01 42.41 3.08 H1 ตัวชี้วัดที่ 3 50.13 0.86 46.93 0.87 ตัวชี้วัดที่ 4 35.20 0.92 32.79 0.89 ตัวชี้วัดที่ 5 41.02 0.94 39.96 เฉลี่ย 43.63 6.26 40.71 6.27

ตัวชี้วัดด้านคำนวณ ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ตัวชี้วัดที่ 2,3,5 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี ตัวชี้วัดที่ 1,4 จัดอยู่ในกลุ่ม H2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใช้แต่ต้องพัฒนาเด็กกลุ่มอ่อนเพื่อให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง (SD.สูง)

ตัวชี้วัดที่ควรพัฒนา 1. ใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หรือทักษะการคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคำตอบจากสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิต ประจำวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนและการดำเนินการตามขอบข่ายสิ่งเร้า 4. ใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หรือทักษะการคิดคำนวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติหรือหาคำตอบจากสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิต ประจำวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ เรื่อง พีชคณิต ตามขอบข่ายสิ่งเร้า

ผลการทดสอบ NT ความสามารถด้านเหตุผล ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 ตัวชี้วัด ระดับเขต ระดับประเทศ กลุ่มประเมิน Mean S.D. ตัวชี้วัดที่ 1 67.10 1.36 62.09 1.37 H1 ตัวชี้วัดที่ 2 50.96 1.71 48.37 1.76 ตัวชี้วัดที่ 3 46.23 1.85 42.72 1.83 H2 ตัวชี้วัดที่ 4 52.81 2.99 47.18 3.04 เฉลี่ย 52.90 6.38 48.56 6.36

ตัวชี้วัดด้านเหตุผล ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ตัวชี้วัดที่ 1,2,4 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี ตัวชี้วัดที่ 3 จัดอยู่ในกลุ่ม H2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใช้แต่ต้องพัฒนาเด็กกลุ่มอ่อนเพื่อให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง

ตัวชี้วัดที่ควรพัฒนา ตัวชี้วัดที่ 3 สามารถสร้างข้อสรุปใหม่ ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล

วิเคราะห์ผลการทดสอบระดับเครือข่าย

NT ป.3

ป.6

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ท 1. 1, ท 3 มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ท 1.1, ท 3.1, ท 4.1, ท 5.1 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี ส่วน มาตรฐาน ท 5.1 จัดอยู่ในกลุ่ม H2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใช้แต่ต้องพัฒนาเด็กกลุ่มอ่อนเพื่อให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง

มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ส 1. 1-1 มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ส 1.1-1.2, ส 2.1-2.2, ส 3.1-3.2, ส 4.3, ส 5.1 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี ส่วน มาตรฐาน ส 4.1-4.2, ส 5.2 จัดอยู่ในกลุ่ม H2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใช้แต่ต้องพัฒนาเด็กกลุ่มอ่อนเพื่อให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง

มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ส 4 มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย  ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือมาตรฐานการเรียนรู้ ต 1.3, ต 2.1,ต 4.1 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี ส่วนมาตรฐาน ต 1.1-1.2, ต 2.2 อยู่ในกลุ่ม H2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใช้แต่ต้องพัฒนาเด็กกลุ่มอ่อนเพื่อให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง

มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ต 1 มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับกาลเทศะ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ค 1. 1 - 1 มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ค 1.1 - 1.3, ค 3.2 ส่วน มาตรฐาน ค 1.4, ค 2.1-2.2, ค 3.1, ค 4.1-4.2, ค 5.1-5.2 จัดอยู่ในกลุ่ม H2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใช้แต่ต้องพัฒนาเด็กกลุ่มอ่อนเพื่อให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง

มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ค 1 มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจำนวนและนำสมบัติเกี่ยวกับจำนวนไปใช้ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนำไปใช้แก้ปัญหา มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ว 1. 1-1 มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ว 1.1-1.2, ว 3.2, ว 4.1-4.2,ว5.1 และ ว 6.1 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี ส่วน มาตรฐาน ว 2.1-2.2, ว 3.1, และ ว 7.1 จัดอยู่ในกลุ่ม H2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใช้แต่ต้องพัฒนาเด็กกลุ่มอ่อนเพื่อให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง

มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ว 2 มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร  ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค  มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

วิเคราะห์ผลการทดสอบระดับเครือข่าย

O-NET ป.6

ม.3

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 ทุกมาตรฐานการเรียนรู้ที่จัดสอบ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ส 1. 1, ส 2 มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ส 1.1, ส 2.1, ส 3.1, ส 4.2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี มาตรฐาน ส1.2,2.2,3.2,4.1,4.3 จัดอยู่ในกลุ่ม L1 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับปรับปรุงต้องพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มาตรฐาน ส 5.1จัดอยู่ในกลุ่ม L2 หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับต้องปรับปรุงอย่างเร่งด่วน

มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ส 1 มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ส 1.2  เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย  ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ  อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย

มาตรฐานที่ควรพัฒนา (ต่อ) มาตรฐาน ส ๕ มาตรฐานที่ควรพัฒนา (ต่อ) มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของ สรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหาวิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระ การเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม L1 คือ มาตรฐาน ต 1

มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ต 1 มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและเขียน มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับกาลเทศะ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ค 2. 1, ค 3 มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ค 2.1, ค 3.2, ค 5.2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H2 คือ ค 1.4 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใช้แต่ต้องพัฒนาเด็กกลุ่มอ่อนเพื่อให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม L1 คือ มาตรฐาน ค.1.1-1.2, ค 2.2, ค 3.1, ค 4.2, ค 5.1,ค 6.1 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับปรับปรุงต้องพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และ มาตรฐาน ค 4.1 จัดอยู่ในกลุ่ม L2 หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับต้องปรับปรุงอย่างเร่งด่วน

มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ค 1 มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการของจำนวนและความสัมพันธ์ระหว่าง การดำเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ และฟังก์ชัน มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนำไปใช้แก้ปัญหา มาตรฐาน ค 5.1 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทาง คณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ว 1. 1, ว 2 มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินจัดอยู่ในกลุ่ม H1 คือ ว 1.1, ว 2.2, ว4.1, ว 5.1 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับดี มาตรฐาน ว 1.2, ว 2.1, ว 3.1-3.2 , ว 4.2 จัดอยู่ในกลุ่ม H2 หมายถึง มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับพอใช้แต่ต้องพัฒนาเด็กกลุ่มอ่อนเพื่อให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานลดลง

มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ว 1 มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลายการเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ว 7 มาตรฐานที่ควรพัฒนา มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะและผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นำมาใช้ในการสำรวจอวกาศ   และทรัพยากรธรรมชาติด้านการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้  และจิตวิทยาศาสตร์   สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้   และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณธรรมต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม

วิเคราะห์ผลการทดสอบข้อสอบกลาง

ข้อสอบกลาง 2558

มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าเขตพื้นที่ ผลการทดสอบโดยใช้ข้อสอบกลาง ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ระดับกลุ่มเครือข่ายการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าเขตพื้นที่

มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าเขตพื้นที่ ผลการทดสอบโดยใช้ข้อสอบกลาง ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2558 ระดับกลุ่มเครือข่ายการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าเขตพื้นที่

มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าเขตพื้นที่ ผลการทดสอบโดยใช้ข้อสอบกลาง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ระดับกลุ่มเครือข่ายการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 มีค่าคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าเขตพื้นที่