การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
Advertisements

การจัดการศึกษาในโรงเรียนท้องถิ่น (การจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน)
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
รูปแบบการจัด Primary Care Cluster เครือข่ายบริการอำเภออรัญประเทศ แพทย์เวชสาสตร์ 3 คนX 3 PCC = 9 คน ทันตแพทย์ 1 คน x 3 PCC = 3 คน พยาบาล.
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
นโยบายทันตสาธารณสุขกับระบบงานปฐมภูมิ
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
คลินิกหมอครอบครัวคุณภาพ
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ

ประเด็นการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ 5 เดือนแรก ระดับ ประเด็นการประเมินผล คะแนนเต็ม 1 - ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีนโยบายส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และบุคลากรสาธารณสุขทุกคนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสตรีและเด็กรับทราบนโยบาย พร้อมทั้งมีแผนงาน/โครงการรองรับนโยบาย - มีระบบและเครือข่ายการใช้โปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโตในพื้นที่ 2 - ร้อยละ 10 ของกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster: PCC) จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านโภชนาการและสุขภาพช่องปาก - ศูนย์อนามัยมีรายงานผลการประเมินตนเองของตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย อย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล 3 - ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นจากค่า baseline   ร้อยละที่เพิ่มขึ้น ................ (กรอกตัวเลขร้อยละที่เพิ่มขึ้น แล้วเทียบคะแนน) คะแนน 0.4 0.7 คะแนนรวม 5 ประเมินผลตามข้อมูล เชิงคุณภาพ ประเมินผลตามข้อมูล เชิงปริมาณ

ประเด็นการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ(ค่า Base line) ศูนย์อนามัยที่ ร้อยละ 5 เดือนแรก 5 เดือนหลัง คะแนน 1 =0.4% 2 =0.7% 3=1% 0.9=1% 1.8=2% 2.7=3% 1 44.2 44.60 44.90 45.20 46.20 47.20 2 44.7 45.10 45.40 45.70 46.70 47.70 3 48.5 48.90 49.20 49.50 50.50 51.50 4 46.5 46.90 47.50 47.40 48.30 5 48.3 48.70 49.00 49.30 50.30 51.30 6 7 49.4 49.80 50.10 50.40 51.40 52.40 8 47.3 48.00 9 51.2 51.60 51.90 52.20 53.20 54.20 10 43.7 44.10 44.40 44.70 11 12 46.1 46.50 46.80 47.10 48.10 49.10 13 52.0 53.70 53.00 52.90 53.80 54.70 รวม 48.0 48.40 50.00 51.00 ที่มา : ระบบรายงาน HDC สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ วันที่ประมวลผล :: 20 ตุลาคม 2559

ข้อสังเกตการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ เขตที่มีผลการดำเนินงานสูงกว่าค่าเป้าหมายระดับประเทศ ปี 2560 จะคิดว่าผ่านแล้ว โดยไม่ได้ศึกษารายละเอียด จาก template ข้อมูลเชิงคุณภาพที่เป็นการดำเนินงาน ส่วนใหญ่ หน่วยงานจะไม่ได้เขียนสรุปการดำเนินงานตาม template เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เอกสารหลักฐานที่แนบมาส่วนใหญ่จะแนบเอกสารสรุปการ ตรวจราชการ มีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดนี้น้อย มาก หรือบางแห่งส่งหลักฐานอ้างอิงมาที่ไม่มีความ เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัด ข้อเสนอแนะการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ 1. หน่วยงานส่วนกลางควรชี้แจงทำความเข้าใจกับศูนย์ อนามัยในการดำเนินงานตาม template และ small success และทำแบบฟอร์มรายงานให้ศูนย์อนามัย ศูนย์อนามัยควรมีการจัดระบบของเอกสารหลักฐาน อ้างอิงให้ชัดเจน ตาม template และ small success และ upload ขึ้นเว็บไซต์อย่างเป็นระบบ

ประเด็นการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ 5 เดือนหลัง ระดับ ประเด็นการประเมินผล คะแนนเต็ม 1 - ร้อยละ 100 ของจังหวัดมีนโยบายส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และบุคลากรสาธารณสุขทุกคนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสตรีและเด็กรับทราบนโยบาย พร้อมทั้งมีแผนงาน/โครงการรองรับนโยบาย 1.6   - ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย อย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล - รายงานสรุปผลการประเมินตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย อย่างน้อยร้อยละ 30 ของตำบลที่ผ่านเกณฑ์ประเมินของจังหวัด ผลการประเมินตนเอง พร้อมแผนแก้ไขปัญหาร่วมกับจังหวัด - รายงานสรุปผลการดำเนินงานส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและมาตรการ 2 - ร้อยละ 50 ของกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster: PCC) จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านโภชนาการและสุขภาพช่องปาก 0.7 - รายงานสรุปผลการดำเนินงานจัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านโภชนาการและสุขภาพช่องปากโดย PCCและข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการและเชิงนโยบาย 3 - ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นจาก ค่า baseline 2.7 ร้อยละ (กรอกตัวเลขร้อยละที่เพิ่มขึ้น แล้วเทียบคะแนน) คะแนน 0.9 1.8 คะแนนรวม 5 ประเมินผลตามข้อมูล เชิงคุณภาพ ประเมินผลตามข้อมูล เชิงปริมาณ