Boundary AJ.2 : Satit UP.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กฎหมายทะเล.
Advertisements

19 th and 20 th May 2013 Chiang Mai, Thailand
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
มามามะ เชิญมา มาร่วมเฮฮา สนุกสนานครื้นเครง
ตอน..สายการบินของกลุ่มประเทศอาเซียน
การเปิดประตูการค้าแห่งใหม่ ระหว่างไทยกับอินเดีย. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ Cambodia Vietnam Laos China India Malaysia Indonesia Singapore Brunei.
อนุสัญญาระหว่างประเทศ
จดหมายธุรกิจ ต่างประเทศ ที่ใช้ในกลุ่ม ประเทศอาเซียน + ตราประจำ ประเทศ.
CountryCountryCountryCountry GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP.
10 ประเทศอาเซียน.
อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone)
Chapter 5 Law of the Sea Kanya Hirunwattanapong Faculty of Law, CMU November 2015 Kanya Hirunwattanapong, Faculty of Law, CMU, November 2015.
LOCATION AJ.2 Satit UP. D C 1 B A F 5 6 K
Maesai Hospital GREE N. บริบทของพื้นที่และ ผู้รับบริการ.
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
ผังการบริหารจัดการน้ำ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
Kanya Hirunwattanapong Faculty of Law, CMU November 2015
มอบนโยบายการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย โดย นายอาทิตย์ วุฒิคะโร
อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
บทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย
ภัยธรรมชาติและการระวังภัยในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
ของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
การรวมกลุ่มประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ยุทธศาสตร์ เขตเศรษฐกิจพิเศษ
ความรู้ทั่วไป ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )
สัญลักษณ์/เครื่องหมาย ของศาสนาอิสลาม
Chapter 4 Treatment of Aliens & State Responsibilities
Globalization and the Law
(Economic Development)
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
วิชากฏหมายทะเล The Law of the Sea
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์
หลักการใหม่ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560
กฎหมายอาญา(Crime Law)
การบริหารจัดการทางการศึกษา (106402)
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
สิทธิรับรู้ของประชาชน
มอบนโยบายการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย โดย นายอาทิตย์ วุฒิคะโร
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
วิชากฏหมายทะเล The Law of the Sea
เวลามาตรฐาน ใน S.E.A. อาจารย์สอง Satit UP.
World Time อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ภายใต้ความมั่นคงและมั่งคั่ง
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ดอกไม้ประจำชาติอาเซียน
Rabbi อาจารย์สอง Satit UP.
Education การศึกษาในยุคกลาง
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
ความรู้ทั่วไป ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )
Holy Land อาจารย์สอง Satit UP.
Promised Land อาจารย์สอง Satit UP.
รศ.ดร. สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
นิกาย ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
5ใจเลิกบุหรี่ ด้วยวิธี 5 D
วิชากฏหมายทะเล (The Law of the Sea)
บ่อเกิดแห่งสิทธิประเภทของสิทธิเสรีภาพสิทธิมนุษยชน สิทธิพลเมือง
วิชากฏหมายทะเล The Law of the Sea
PROVINCE AJ.2 : Satit UP.
สถานการณ์ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Boundary AJ.2 : Satit UP

อ.เชียงแสน จ.เชียงราย Myanmar 2202 ก.ม. อ.เมือง จ.ระนอง

อ.เชียงแสน จ.เชียงราย Laos 1750 ก.ม. อ.น้ำยืน จ.อุบลราชธานี

Cambodia อ.น้ำยืน จ.อุบลราชธานี อ.คลองใหญ่ จ.ตราด 798 ก.ม.

Malaysia 576 ก.ม. อ.ตากใบ จ.นราธิวาส อ.เมือง จ.สตูล

จังหวัดที่มีอาณาเขตพรมแดนติดกับประเทศพม่า 10 จังหวัด 3 ภาค

จังหวัดที่มีอาณาเขตพรมแดนติดกับประเทศลาว 12 จังหวัด 3 ภาค

จังหวัดที่มีอาณาเขตพรมแดนติดกับประเทศกัมพูชา 7 จังหวัด 2 ภาค

จังหวัดที่มีอาณาเขตพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซีย 4 จังหวัด 1 ภาค

อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (พ.ศ. 2525) ใช้ชื่อย่อในภาษาอังกฤษว่า UNCLOS : United Nations Convention on the Law Of the Sea ได้แบ่งเขตทางทะเลออกเป็นส่วนต่างๆ รวม 6 ส่วน ดังนี้ 1. น่านน้ำภายใน (Internal Water) 2. ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) 3. เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone) 4. เขตเศรษฐกิจจำเพาะ (Exclusive Economic Zone) : EEZ 5. ไหล่ทวีป (Continental Shelf) 6. ทะเลหลวง (High Seas)

1. น่านน้ำภายใน (Internal Water) พื้นที่ ที่แสดงด้วยสีเขียวทั้งหมด - คือ น่านน้ำทางด้านแผ่นดินของเส้นฐาน (baselines) เช่น อ่าว แม่น้ำ ปากแม่น้ำ ทะเลสาบ 1 2  - รัฐชายฝั่งมีอำนาจอธิปไตย เหนือน่านน้ำภายใน ทำนองเดียวกันกับที่มีเหนือดินแดนซึ่งเป็นพื้นแผ่นดิน 2 2 - หากเรือต่างชาติหรืออากาศยานต่างชาติจะผ่านเข้ามาในเขต น่านน้ำภายในของรัฐชายฝั่ง เรือต่างชาติหรืออากาศยานต่างชาตินั้นจะต้องขออนุญาตรัฐชายฝั่งก่อน 3 พื้นที่ ที่แสดงด้วยสีเขียวทั้งหมด ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2502 อ่าวประวัติศาสตร์ ได้แก่พื้นที่บริเวณอ่าวไทยรูปตัว ก. เหนือเส้นฐานที่กำหนดขอบเขตอ่าวประวัติศาสตร์ (ปากอ่าวตอนบน หรือ ที่เรียกว่า อ่าวตอนใน) ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2513 บริเวณที่ 1 ตั้งแต่แหลมลิง(จันทบุรี) อ้อมเกาะช้าง เกาะกูด ถึงหลักเขตแดนไทย-เขมร ที่ที่แหลมสารพัดพิษ จังหวัดตราด บริเวณที่ 2 ตั้งแต่แหลมใหญ่ (สุราษฎร์ธานี) อ้อมเกาะสมุย เกาะพงัน เกาะเต่า ถึงแหลมหน้าถ้ำ (ชุมพร) บริเวณที่ 3 ตั้งแต่ เกาะภูเก็ต ถึง พรมแดนไทย-มาเลเซีย เชื่อมเส้นฐานตรงและน่านน้ำภายใน ของประเทศไทย ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2535 บริเวณที่ 4 ตั้งแต่เกาะกงออก(ตอนใต้เกาะสมุย) ถึง เขตแดนไทย-มาเลเซีย ณ ปากน้ำโกลก (นราธิวาส)

น่านน้ำภายใน (Internal Water) ของไทย ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2513 ตั้งแต่แหลมลิง(จันทบุรี) อ้อมเกาะช้าง เกาะกูด ถึงหลักเขตแดนไทย-เขมร ที่ที่แหลมสารพัดพิษ จังหวัดตราด ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2502 อ่าวประวัติศาสตร์ ได้แก่พื้นที่บริเวณอ่าวไทยรูปตัว ก. เหนือเส้นฐานที่กำหนดขอบเขตอ่าวประวัติศาสตร์ (ปากอ่าวตอนบน หรือ ที่เรียกว่า อ่าวตอนใน) ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2513 ตั้งแต่แหลมใหญ่ (สุราษฎร์ธานี) อ้อมเกาะสมุย เกาะพงัน เกาะเต่า ถึงแหลมหน้าถ้ำ (ชุมพร) ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2513 ตั้งแต่ เกาะภูเก็ต ถึง พรมแดนไทย-มาเลเซีย เชื่อมเส้นฐานตรงและน่านน้ำภายใน ของประเทศไทย ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2535 ตั้งแต่เกาะกงออก(ตอนใต้เกาะสมุย) ถึง เขตแดนไทย-มาเลเซีย ณ ปากน้ำโกลก (นราธิวาส)

2. ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) - อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ได้กำหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตว่าต้องไม่เกิน 12 ไมล์ทะเลโดยวัดจากเส้นฐาน (baselines) - รัฐชายฝั่ง มีอำนาจอธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขตของตน และอำนาจอธิปไตยนี้ ครอบคลุมไปถึงห้วงอากาศ เหนือพื้นท้องทะเล และใต้ผิวพื้นท้องทะเลของทะเลอาณาเขตนั้นๆ ด้วย - “การใช้สิทธิการผ่านโดยสุจริต” (right of innocent passage) ของเรือต่างชาติในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ง พื้นที่ ที่แสดงด้วยสีเหลืองทั้งหมด

3. เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone) - อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 กำหนดให้เขตต่อเนื่องขยายไม่เกินกว่า 24 ไมล์ทะเล จากเส้นฐาน (baselines) หรือ ไม่เกิน 12 ไมล์จากเขตทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) พื้นที่ ที่แสดงด้วยสีน้ำเงินเข้มทั้งหมด -รัฐชายฝั่งมีอำนาจในการควบคุมเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ดังนี้ 1. ป้องกันมิให้มีการฝ่าฝืนกฎหมาย และข้อบังคับว่าด้วยศุลกากร การเข้าเมือง รัษฎากร และสุขาภิบาล อันจะทำให้เกิดในดินแดน หรือในทะเลอาณาเขตของตน และลงโทษผู้กระทำฝ่าฝืนกฎหมายและข้อบังคับดังกล่าว 2. คุ้มครองวัตถุโบราณ หรือวัตถุทางประวัติศาสตร์ที่พบใต้ทะเลในเขตต่อเนื่อง (Territorial Sea)

4. เขตเศรษฐกิจจำเพาะ (Exclusive Economic Zone) : EEZ - อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลปี ค.ศ. 1982 กำหนดให้เขตเขตเศรษฐกิจจำเพาะ มีความกว้างไม่เกิน 200 ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน(baselines) พื้นที่ ที่แสดงด้วยสีฟ้าทั้งหมด - รัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจ แสวงประโยชน์ อนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ในน้ำเหนือพื้นดินท้องทะเล ในพื้นดินท้องทะเล (sea-bed) กับดินใต้ผิวดิน (subsoil) - ส่วนกิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับทางเศรษฐกิจ เช่น การเดินเรือ การบิน ไม่ตกอยู่ในสิทธิอธิปไตย ของรัฐชายฝั่ง

5. ไหล่ทวีป (Continental Shelf) หมายถึง พื้นดินท้องทะเล (sea-bed) และดินใต้ผิวดิน (subsoil) (พื้นทะเล และใต้ผิวพื้นของพื้นที่ใต้น้ำ) ของบริเวณใต้ทะเล ซึ่งขยายเลยจากทะเลอาณาเขต(Territorial Sea) ด้านนอกสุดของทวีปที่มีน้ำลึกไม่เกิน 200 เมตร

6. ทะเลหลวง (High Seas) หมายถึง ส่วนของทะเลที่มิใช่ส่วนหนึ่งของเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ทะเลอาณาเขต หรือน่านน้ำภายใน โดยทุกรัฐมีเสรีภาพในการใช้ทะเลหลวง เพื่อการเดินเรือ การบิน การวางสายเคเบิลและท่อทางใต้ทะเล การประมง การสร้างเกาะเทียม และสิ่งติดตั้งอื่นๆ รวมทั้งการค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์