รพ.บัวเชด อ.บัวเชด จ.สุรินทร์ การพัฒนาระบบการจำหน่ายผู้ป่วยเด็กที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี โดยชุมชนมีส่วนร่วม รพ.บัวเชด อ.บัวเชด จ.สุรินทร์
การพัฒนาระบบการจำหน่ายผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยชุมชนมีส่วนร่วม รพ.บัวเชด อ.บัวเชด จ.สุรินทร์
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป จำนวนประชากรทั้งหมด 39,134 คน เพศชาย 20,814คน จำนวนประชากรทั้งหมด 39,134 คน เพศชาย 20,814คน เพศหญิง 18,320คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี และเอดส์ทั้งหมด 127 คน (324.52 :100,000 ) ●จำนวนผู้ป่วยเด็ก 6 คน จำนวนผู้ป่วยที่ป่วยด้วยเบาหวาน 432 คน (1103.89 :100,000 ) จำนวนผู้ป่วยที่ป่วยด้วยความดันดลหิตสูง 559 คน (1428.42 :100,000 )) จำนวนผู้ป่วยโรค COPD/ASTHMA 94 คน (240.20 :100,000 )) จำนวนผู้ป่วยจิตเวชและสุขภาพจิต 238 คน (608.16 :100,000 ))
การดูแลผู้ป่วยเด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี รพ.บัวเชด จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 6 คน ชาย 2 คน หญิง 4 คน อายุ 14 – 18 ปี ระดับ CD4 250-350 = 0 คน 350 – 500 = 1 คน มากกว่า 500 = 5 คน สูตรยา สูตรยาพื้นฐาน 4 คน สูตรยาเพิ่มเติม 2 คน
ความสำคัญและความเป็นมา
ความสำคัญและความเป็นมา ในสังคมปัจจุบัน ถึงแม้ว่าประชาชนส่วนใหญ่จะได้รับข้อมูลเรื่องโรคเอดส์กันมากก็ตาม แต่ทัศนคติด้านลบต่อผู้ป่วยเอดส์และผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี ก็ยังปรากฏให้เห็น ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและผู้ติดเชื้อเอชไอวีเหล่านั้น โดยเฉพาะปัญหาการถูกรังเกียจ การจำกัดและลิดรอนสิทธิอันพึงเข้าถึง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตและสุขภาพด้านร่างกาย ดังนั้นการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยในกลุ่มนี้จึงจำเป็นต้องให้คนในชุมชนมีความรู้ ลดทัศนคติด้านลบ เข้าใจผู้ป่วยกลุ่มนี้ ดังนั้นการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโดยชุมชนมีส่วนร่วมจึงมีความสำคัญต่อการที่จะดูแลผู้ป่วย
กลวิธีการดำเนินงาน 1.ประชุมวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยกลับสู่ชุมชน 2.วิเคราะห์หาปัญหา ที่เกิดกับผู้ป่วย 3.หาจุดอ่อนและจุดแข็งของแต่ละชุมชนนั้น 4.เตรียมแผนการดำเนินงาน ในชุมชน 5.ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชี้แจง และขอความร่วมมือในการดำเนินงาน 6.ติดตามและประเมินผล
กรณีตัวอย่าง
ครอบครัวที่เคย .........อบอุ่น........
แม่ไม่สบาย ตอนอายุ 4 ขวบ
“ 9 ขวบ ” พ่อก็ จากไป
มีแต่ “ ยาย ” ที่ดูแลมาตลอด
วันนี้..วาดรูป “ครอบครัวของฉัน”กันนะ
ผม..อยู่กับยาย คับ
ลูกไม่มี...พ่อ.!! ลูกไม่มี...แม่.....เย่ ไป.ไป..!!!
? ? ? ?
ต่อมา
กระบวนการการพัฒนา 1.ให้ความรู้แก่ชุมชน เพื่อให้เกิดการเข้าใจและการยอมรับ 2.ประสานกับหน่วยงาน อบต. /ผู้ใหญ่บ้าน/โรงเรียน เพื่อร่วมวางแผนหาแนวทางการดูแลผู้ป่วย 3.ปรับกลยุทธ์ในการเข้าถึงบริการ 4.ติดตามและประเมินผล
การปรับตัวและความสามรถในการดูแลตนเอง
การเปลี่ยนแปลง 1. ผู้ป่วยได้รับการดูแลช่วยเหลือด้านสังคม-เศรษฐกิจ 2. มีผู้ดูแลผู้ป่วยเรื่องการรับประทานยา 3.สังคมให้การยอมรับ ไม่รังเกียจ 4.ผู้ป่วยอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างปกติสุข
การวัดผลและการเปลี่ยนแปลง
การวัดผลและการเปลี่ยนแปลง แผนภูมิแสดงถึง การมา รพ.เพื่อรับยาตามนัด และร้อยละของความสม่ำเสมอในการรับประทานยา (adherence) เกณฑ์ ≥ 95%
แผนภูมิ แสดงจำนวนวันนอนและจำนวนครั้งการนอน รพ.
แผนการที่จะดำเนินต่อ -ส่งเสริมศักยภาพของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง -ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโรคอื่นที่ยังเป็นปัญหาของชุมชน
ข้อเสนอแนะ/คำถาม
สวัสดี