พลังงานในสิ่งมีชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
Advertisements

ชีวเคมี II Bioenergetics.
การขนส่งอสุจิสู่ Epididymis
การสังเคราะห์กรดไขมัน (ที่อยู่นอก Mitochondria)
Citric Acid Cycle.
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
Energy transformation การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
พวกเราต่างคิดว่าการกินผลไม้เป็นเรื่องง่ายๆ แค่ซื้อมา แล้วก็ปอก จากนั้นก็หยิบเข้าปากเท่านั้น คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่าถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร.
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
การออกแบบและเทคโนโลยี
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
Photosynthesis กรวรรณ งามสม.
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหาร ระดับเซลล์
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ครูปฏิการ นาครอด.
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Alkyne และ Cycloalkyne
ชั่วโมงที่ 32–33 สมบัติบางประการ ของคาร์โบไฮเดรต
CARBOHYDRATE METABOLISM
Chemistry Introduction
LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - KETOGENESIS
LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - PHOSPHOLIPID METABOLISM
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
การสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis)
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
CARBOHYDRATE METABOLISM
OXIDATIVE PHOSPHORYLATION
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
มลภาวะของอากาศ(Air pollution)
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
CARBOHYDRATE METABOLISM
ปฏิกิริยาเคมี Chemical Reaction
ระบบย่อยอาหาร.
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
การสังเคราะห์ด้วยแสง
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
ปฏิกิริยาไม่ใช้แสง จะเกิดแตกต่างกัน 3 ลักษณะ ตามกลุ่มพืชจำแนกปฏิกิริยานี้ออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. พืช ซี-3 (C3-plants) พืช ซี-3 เป็นกลุ่มพืชที่ใช้ไรบูไลส.
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
ชีวโมเลกุล.
เอนไซม์และตัวยับยั้งเอนไซม์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พลังงานในสิ่งมีชีวิต นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ

พลังงานในสิ่งมีชีวิต (BIOENERGETICS)  มีหลายรูป เช่น :-  ATP (Adenosine Triphosphate)  NADH + H+  B5 (Nicotinic acid)  FADH2  B2 (Riboflavin)  NADPH + H+  Creatine phosphate Reducing Equivalent ATP นำไปใช้กว้างขวางที่สุด สะดวกที่สุด

1, 3 – diPGA + ADP  3 – PGA + ATP Phosphorylation I. Substrate level phosphorylation  สร้าง ATP จากสารอินทรีย์พลังงานสูง 1, 3 – diPGA + ADP  3 – PGA + ATP II. Oxdative phosphorylation  สร้าง ATP จากปฏิกิริยา oxidation NADH + H+ oxidation NAD+ + 2H+ + 2e ADP + Pi  ATP

พบใน Autotrophs เท่านั้น III. Photophosphorylation  สร้าง ATP โดยอาศัยพลังงานแสง 2hr 2e Photooxidation chl. chl.+2 ADP + Pi ATP พบใน Autotrophs เท่านั้น

ester bond AMP Anhydride bond ADP Pi ATP 3.4 kcal ester bond AMP Anhydride bond 7.3 kcal ADP Pi 7.3 kcal ATP

ENDERGONIC REACTION PHOSPHORYLATION ENDERGONIC REACTION HYDROLYSIS ATP Pi > 7.3 kcal/mol H2O 7.3 kcal/mol Pi ADP Pi > 7.3 kcal/mol H2O 7.3 kcal/mol Pi AMP HYDROLYSIS ENDERGONIC REACTION PHOSPHORYLATION Pi ENDERGONIC REACTION > 3.4 kcal/mol H2O 3.4 kcal/mol Pi Adenosine ATP > ADP > AMP

Alcoholic fermentation Lactic acid fermentation I. Aerobic respiration 1.1 Glycolysis 1.2 Pyruvate oxidation 1.3 Krebs cycle 1.4 Electron transport system (ETS) II. Anareobic respiration 2.1 Glycolsis 2.2 Fermentation Alcoholic fermentation Lactic acid fermentation

การหายใจ (Respiration) การหายใจในทางชีวเคมี หมายถึง ปฏิกิริยาการสลายสารอาหารอินทรีย์ภายในเซลล์ เพื่อให้ได้พลังงานในรูป ATP ซึ่งมักจะเรียกว่า การหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration) ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. การหายใจแบบใช้ออกซิเจน (aerobic respiration) 2. การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic respiration)

การหายใจแบบใช้ออกซิเจน การหายใจแบบใช้ออกซิเจน จะใช้แก๊สออกซิเจน (O2) เป็นตัวสุดท้ายที่รับไฮโดรเจนจากสารอาหาร ซึ่งแบ่งเป็น 4 ขั้น คือ 1. ไกลโคลิซิส (glycolysis) 2. การสร้างอะซิติลโคเอนไซม์ เอ หรือออกซิเดชันกรดไพรูวิก (pyruvate dehydrogenase complex pathway หรือ pyruvate oxidation) 3. วัฏจักรเครบส์ หรือวัฏจักรกรดซิตริก (Krebs cycle หรือ Citric acid cycle) 4. ระบบการถ่ายทอดอิเล็กตรอน (electron transport system)

 Phosphoglycerokinase 2 ADP  Phosphoglycerokinase 2 ADP  Pyruvate kinase

ผลลัพธ์ Glycolysis cytoplasm C6H12O6 2 C3H4O3 4H 2ATP (2 NADH + H+) (Pyruvic acid) 4H 2ATP (2 NADH + H+) ผลลัพธ์ 1. C3H4O3 2 โมเลกุล 2. ATP สุทธิ 2 โมเลกุล (เกิด 4 ATP, ใช้ 2 ATP) 3. 4H (2 NADH + H+)  เกิดใน cytoplasm 

2. ถ้าเริ่มต้นจากกลูโคส 1 โมเลกุล จะได้ 2.1 กรดไพรูวิก 2 โมเลกุล ไกลโคลิซิส 1. ไกลโคลิซิส เป็นกระบวนการสลายกลูโคสหรือไกลโคเจนไปเป็นกรดไพรูวิก (C3H4O3) ซึ่งเกิดในไทโทพลาซึมของเซลล์ทุกเซลล์ไม่ว่าจะมีแก๊สออกซิเจน (O2) หรือไม่มีก็ตาม แต่ไม่ใช้แก๊สออกซิเจนเข้าร่วมปฏิกิริยา 2. ถ้าเริ่มต้นจากกลูโคส 1 โมเลกุล จะได้ 2.1 กรดไพรูวิก 2 โมเลกุล 2.2 NADH + H+ 2 โมเลกุล (4H) 2.3 ATP สุทธิ 2 โมเลกุล

การออกซิเดชันกรดไพรูวิก 1. การออกซิเดชันกรดไพรูวิกหรือการสร้างอะซิติลโคเอนไซม์ เอ เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชันของกรดไพรูวิกไปเป็นอะซิติลโคเอนไซม์ เอ (CH3 – C – S – COA) ซึ่งเกิดในแมทริกซ์ (matrix) ของไมโทคอนเดรียเมื่อมี O2 เป็นตัวเหนี่ยวนำ (inducer) ไม่ใช้ O2 เข้าร่วมปฏิกิริยา O 2. ถ้าเริ่มต้นจากกลูโคส 1 โมเลกุล หรือกรดไพรูวิก 2 โมเลกุล จะได้ 2.1 อะซิติลโคเอนไซม์ เอ 2 โมเลกุล 2.2 CO2 2 โมเลกุล 2.3 NADH + H+ 2 โมเลกุล (4H)

การสร้าง Acetyl COA CH3 – C – C –OH (Pyruvic acid) = 3 C CO2 Decarboxylation O CH3 – C – H (acetaldehyde) = 2 C -lipoic acid (oxidised form) CH2 – CH2 – CH – (CH2)4 – C – OH NAD+ NADH + H+ I S H I S H -lipoic acid -lipoic acid (reduced) O COASH (Coenzyme A) CH3 – C – S – COA (acetyl COA) COASH O O CH3 – C – H CH3 – C – S - COA NAD + NADH + H+

การสร้าง Acetyl COA O2  inducer O2 present 2 COASH 2 C3H4O3 2 CH3 – C – S – COA Decarbo xylation (2/3 ของ C ใน C6H12O6) + 2 CO2 (1/3 ของ C ใน C6H12O6) + 2 NADH + H+ (4H)  ไม่มี ATP อิสระเกิดขึ้น  เกินใน matrix ของ mitochondria เมื่อมี O2 แต่ O2 ไม่ได้เข้าร่วมปฏิกิริยาโดยตรง O2  inducer

Krebs cycle 6C  5C  4C 2 Krebs cycle 2 CH3 – C – S – COA 4 CO2 (2C) + 6 NADH + H+ + 2 FADH2 + 2 GTP (ATP)  เกินใน matrix ของ mitochondria เมื่อมี O2 แต่ O2 ไม่ได้เข้าร่วมปฏิกิริยาโดยตรง  การเปลี่ยนแปลง C ใน Krebs cycle 2C  6C  5C  4C 6C  5C  4C 2C CO2 6C 4C 5C CO2

วัฏจักรเครบส์ 1. วัฏจักรเครบส์ เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชันของอะซิติล- โคเอนไซม์ เอ ไปเป็น CO2 ซึ่งเกิดที่แมทริกซ์ของ ไมโทคอนเดรียเมื่อมี O2 แต่ไม่ใช้ O2 เข้าร่วมปฏิกิริยา การย่นหน้าผาก 2. ถ้าเริ่มต้นจากกลูโคส 1 โมเลกุล หรือะซิติลโคเอนไซม์ เอ 2 โมเลกุล จะได้ 2.1 CO2 4 โมเลกุล (2 CO2 / วัฏจักรเครบส์) 2.2 NADH + H+ 6 โมเลกุล (3 NADH + H+ / วัฏจักรเครบส์) 2.3 FADH2 2 โมเลกุล (1 FADH2 / วัฏจักรเครบส์) 2.4 GTP 2 โมเลกุล (1 GTP / วัฏจักรเครบส์) (GTP เมื่อเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสจะให้พลังงานเท่ากับ ATP)

3. ลำดับการเปลี่ยนแปลงของคาร์บอน (C) ในวัฏจักรเครบส์เป็นดังนี้ คือ 6C  5C  4C หรือ 2C  6C  5C  4C หรือ 6C 2C 4C 5C 4. วัฏจักรเครบส์ เป็นปฏิกิริยาที่สลายสารอาหารอินทรีย์ให้เป็น CO2 โดยสมบูรณ์ และเป็นปฏิกิริยาที่เกิดไฮโดรเจนพลังงานสูง (H) มากที่สุดถึง 2 ใน 3 ของ H ทั้งหมดจากกลูโคส (16/24)

ความสำคัญของ Krebs cycle 1. สลายสารอาหารอินทรีย์ (C – อินทรีย์) ให้เป็นสารอนินทรีย์ (CO2) ได้หมดสิ้นสมบูรณ์ 2. เกิด H พลังงานสูงมากที่สุด 2/3 ของ H จาก C6H12O6 (16/24 H) 3. ปฏิกิริยากลางของการสลายทั้ง Carbohydrate, Lipid, Protein