ปฏิบัติการที่ 05 การดำเนินการกับเมทริกซ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Strength of Materials I EGCE201 กำลังวัสดุ 1
Advertisements

การแนะนำสถานที่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 1. นางสาวดลยา พลอาวุธ เลขที่ นางสาวปภัสสร สายสมบัติ เลขที่ นางสาวศิริพร ประสมศรี เลขที่ 36.
THE PARTS OF A FLOWERING PLANT AND THEIR FUNTION.
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
จำนวน สถานะ NUMBER OF STATES. ประเด็นที่ สนใจ The number of distinct states the finite state machine needs in order to recognize a language is related.
Chapter 5: Functions of Random Variables. สมมติว่าเรารู้ joint pdf ของ X 1, X 2, …, X n --> ให้หา pdf ของ Y = u (X 1, X 2, …, X n ) 3 วิธี 1. Distribution.
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
ออโตมาตาจำกัด FINITE AUTOMATA
REGULAR EXPRESSION การบรรยายแบบสม่ำเสมอ
Quick Review about Probability and
CFA Analysis by LISREL 1.คลิก File 2. คลิก Open 3. คลิกเลือก File
โปรแกรม Microsoft Access
CS Assembly Language Programming Period 14.
การใช้สูตร Excel x ให้พิมพ์ใน cell ว่า =5.7*1E+6
การติดตั้งโปรแกรม. 1. Double click เลือก RFDSetup.msi เพื่อทำการติดตั้งโปรแกรม.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Week 2 Chapter 2 Matrix.
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย. เมตริกซ์ (Matrices) เมตริกซ์ คือ การจัดเรียง จำนวนให้อยู่ในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งประกอบด้วย แถว (Row) และ หลัก (Column)
ข้อมูลที่ป้อนลงกระดาษทำการไปแล้ว สามารถแทรกเพิ่มเติมได้โดยใช้หลักการแทรกแถว ดังนี้ Click เมาส์ ณ ตัวเลขแถวที่ต้องการแทรก เลือกคำสั่ง Insert, Rows หรือคลิกขวาแล้วเลือก.
STACK ADT By Pantharee S.. Stack Model  A list with the restriction that insertions deletions can be performed in only one position (LIFO)  Push – insert.
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การใช้โปรแกรม R506 เวอร์ชั่น 3.10
การสร้าง WebPage ด้วย Java Script Wachirawut Thamviset.
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix) Pisit Nakjai.
เลขยกกำลัง พิจารณาข้อความต่อไปนี้ a x a = a 2 a x a x a = a 3 a x a x a x a = a 4.
ครูรุจิรา ทับศรีนวล ตอนที่ 2 “Journeys” ครูรุจิรา ทับศรีนวล.
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น อ. ว่าที่ ร. ต. กฤษฎา ศักดิ์คำดวง.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II Week 3: Ch.2 Matrices Continue Ch.3 Eigenvector.
MATLAB for Mechanical Engineering
TEST FOR 3RD GRADERS IN THAILAND: COMPARATIVE STUDY Pimlak Moonpo Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Patronage Assoc. Prof. Dr. Maitree Inprasitha.
Eigenvalue & Eigenvector. 1. Get to know: Eigenvalue & Eigenvector 2. Estimation of Eigenvalue & Eigenvector 3. Theorem.
Collections. Data structures Data Structures ( โครงสร้างข้อมูล ) เกิดจากการ นำข้อมูลขั้นพื้นฐานที่แบ่งแยกไม่ได้ (atomic data type) เช่น int, char, double.
CHAPTER 18 BJT-TRANSISTORS.
ปี 2559 โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูล จปฐ. และข้อมูลพื้นฐาน
The Multiple Document Interface (MDI) การประสานเอกสาร หลายรูปแบบ.
การบริหารโครงการโดยวิธีการ เชิงปริมาณ ศึกษาเทคนิคและวิธีการเลือก โครงการ บทบาทของผู้จัดการโครงการ การวางแผนโครงการ การจัดลำดับงาน การจัดสรรเวลาและทรัพยากรต่างๆ.
Chapter 8: Single-Area OSPF
การติดตั้งโปรแกรม.
Microsoft Excel เบื้องต้น
การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
Pentaho Installation.
Java Development Kit Installation.
Chapter Objectives Concept of moment of a force in two and three dimensions (หลักการสำหรับโมเมนต์ของแรงใน 2 และ 3 มิติ ) Method for finding the moment.
คำเทศนาหัวข้อที่ 3: ประกาศข่าวดี SERMON 3: PREACHING GOOD NEWS
Integrity Constraints
Part 1: By the Power of the Gospel
Introduction to VB2010 EXPRESS
1. นี่เป็นสิ่งที่พระเยซูทรงทำ พระองค์ทรงรักษาทุกคน ที่เจ็บป่วยให้หายดี
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
เมื่อเข้าสู่โปรแกรมจะแสดงหน้าจอสำหรับตรวจสอบสิทธิผู้ปฏิบัติงาน รหัสที่ใช้ต้องเป็นรหัสนายทะเบียนหรือผู้ช่วยนายทะเบียน และต้องมีสิทธิในการใช้งานฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร.
แบบจำลองแรงโน้มถ่วง.
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
Learning Tableau: Chapter 3
Picture Viewer.
Information Retrieval
แบบมาตรฐานระบบบำบัดน้ำเสียแบบได้ก๊าซชีวภาพ สำหรับฟาร์มสุกร
NETWORK GRAPH การวิเคราะห์วงจรข่ายโดยกราฟ ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์
ตอนที่ 3 - โดยฤทธิ์เดชแห่งการอธิษฐาน Part 3 - By the Power of Prayer
เซต (SET) เราไม่สามารถให้คำจำกัดความกับค่าว่าเซตหรือสมาชิก
PART 5: The Spirit of Faith
Dr.Surasak Mungsing CSE 221/ICT221 การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี Lecture 11: เทคนิคการออกแบบขั้นตอนวิธีตอนวิธี Greedy,
การประยุกต์ใช้เมตริกซ์
ปฏิบัติการที่ 06 การใช้ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และการสร้างมาโครใน Excel
การดำเนินงานเว็บไซต์สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ
สอนอย่างมืออาชีพ หยุดยั้งพฤติกรรมเสี่ยง
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปฏิบัติการที่ 05 การดำเนินการกับเมทริกซ์ ปฏิบัติการที่ 05 การดำเนินการกับเมทริกซ์

มิติและสัญลักษณ์ a11 a12 a13 … a1n แถวที่ 1 a21 a22 a23 … a2n แถวที่ 2 am1 am2 am3 … amn แถวที่ m หลักที่1 หลักที่2 หลักที่3 หลักที่n เขียนในรูปย่อว่า A = [aij]mxn

มิติและสัญลักษณ์ ตัวเลขที่เรียงกันในแนวนอน เรียกว่า แถว (row) ตัวเลขที่เรียงกันในแนวตั้ง เรียกว่า หลัก (column) เรียกเมทริกซ์ที่มี m แถว n หลัก ว่าเมทริกซ์มีมิติ m x n หรือ m x n เมทริกซ์ aij คือ สมาชิกของเมทริกซ์ a ซึ่งอยู่ในแถวที่ i หลักที่ j

Transpose of a Matrix A matrix which is formed by turning all the rows of a given matrix into columns and vice-versa. The transpose of matrix A is written AT.

Determinant of a matrix A determinant of matrix 2 X 2 is defined to be

Determinant of a matrix A determinant of matrix 3 X 3 is defined to be

Inverse of a Matrix For a square matrix A, the inverse is written A-1. AA-1 = A-1A = I Shortcut for 2x2 matrices

To inverse 2x2 matrices

To inverse 2x2 matrices

Multiplication of matrix

Multiplication of matrix

Adding and subtracting matrices

การใช้งานโปรแกรม Matrix Operation วิธีการเข้าสู่โปรแกรม ที่ Run Open \\allegro\pub\incoming\201110  click OK Copy โปรแกรม matrix.exe ไว้ที่ drive D กรณี โปรแกรม matrix.exe อยู่ที่ drive D แล้ว ก็ double click โปรแกรมได้เลย

หน้าต่างโปรแกรม Matrix Operation

โหมดของโปรแกรม โปรแกรมประกอบไปด้วย 8 โหมด ดังนี้

โหมดที่ 1 หมายถึงการหาทรานสโพสของเมทริกซ์ โหมดที่ 2 หมายถึงการหาอินเวอร์สของเมทริกซ์ โหมดที่ 3 หมายถึงการบวกเมทริกซ์ โหมดที่ 4 หมายถึงการลบเมทริกซ์ โหมดที่ 5 หมายถึงการคูณเมทริกซ์ โหมดที่ 6 หมายถึงการยกกำลังเมทริกซ์ A ทั้งหมด n ครั้ง โหมดที่ 7 หมายถึงการหาดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์ โหมดที่ 8 หมายถึงการดำเนินการกับ 2เมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ

ขั้นตอนการใช้โหมด 1, 2, 6, 7 เลือกโหมด โหมดที่ 1 หมายถึงการหาทรานสโพสของเมทริกซ์ โหมดที่ 2 หมายถึงการหาอินเวอร์สของเมทริกซ์ โหมดที่ 6 หมายถึงการยกกำลังเมทริกซ์ A ทั้งหมด n ครั้ง โหมดที่ 7 หมายถึงการหาดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์ ใส่จำนวนแถวของเมทริกซ์ ใส่จำนวนหลักของเมทริกซ์

ขั้นตอนการใช้โหมด 1, 2, 6, 7 (ต่อ) ป้อนตัวเลขให้กับสมาชิกของเมทริกซ์ โดยป้อนตัวเลขใส่เป็นแถว ในโหมดที่ 6 ป้อนเลขยกกำลัง ให้กับตัวแปร n แสดงข้อมูลที่ป้อนลงในเมทริกซ์ แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการเลือกโหมด 1, 2, 6 หรือ 7

ตัวอย่างการใช้โหมด 1 การหาทรานสโพสของเมทริกซ์ กำหนดให้ เมทริกซ์ A มีค่าดังนี้ A = 2 -3 4 6 ทำการหา At ทำการหาด้วยมือ คือการสลับแถวกับหลักของเมทริกซ์ A โดย At = 2 4 -3 6

ตัวอย่างการใช้โหมด 1 การหาทรานสโพสของเมทริกซ์ ขั้นตอนการหาโดยใช้โปรแกรม Matrix Operation ใส่โหมด 1 ใส่จำนวนแถวของเมทริกซ์ ใส่จำนวนหลักของเมทริกซ์

ตัวอย่างการใช้โหมด 1 การหาทรานสโพสของเมทริกซ์ ขั้นตอนการหาโดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ป้อนข้อมูลลงในเมทริกซ์ โดยไล่ตามแถว

ตัวอย่างการใช้โหมด 1 การหาทรานสโพสของเมทริกซ์ ขั้นตอนการหาโดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) แสดงข้อมูลที่ป้อนลงในเมทริกซ์ แสดงผลลัพธ์ที่ได้

ขั้นตอนการใช้โหมด 3, 4, 5 เลือกโหมด โหมดที่ 3 หมายถึงการบวกเมทริกซ์ โหมดที่ 4 หมายถึงการลบเมทริกซ์ โหมดที่ 5 หมายถึงการคูณเมทริกซ์ ใส่จำนวนแถวของเมทริกซ์ A ซึ่งเป็นเมทริกซ์ที่ 1 ใส่จำนวนหลักของเมทริกซ์ A

ขั้นตอนการใช้โหมด 3,4, 5 (ต่อ) ป้อนตัวเลขให้กับสมาชิกของเมทริกซ์ A โดยป้อนตัวเลขไล่เป็นแถว ใส่จำนวนแถวของเมทริกซ์ B ซึ่งเป็นเมทริกซ์ที่ 2 ใส่จำนวนหลักของเมทริกซ์ B ป้อนตัวเลขให้กับสมาชิกของเมทริกซ์ B โดยป้อนตัวเลขไล่เป็นแถว แสดงข้อมูลที่ป้อนลงในเมทริกซ์ A และ B แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการเลือกโหมด 3, 4 หรือ 5

ตัวอย่างการใช้โหมด 3 การบวกเมทริกซ์ กำหนดให้ เมทริกซ์ A และ B มีค่าดังนี้ A = 2 -3 B = 5 -1 4 6 -7 0 ทำการหา A + B ทำการหาด้วยมือ คือการนำสมาชิกในตำแหน่งเดียวกันของเมทริกซ์ A และ B มาบวกกัน โดย A+B = 2 -3 + 5 -1 = 7 -4 4 6 -7 0 -3 6

ตัวอย่างการใช้โหมด 3 การบวกเมทริกซ์ (ต่อ) ขั้นตอนการหาโดยใช้โปรแกรม Matrix Operation ใส่โหมด 3 ใส่จำนวนแถวของเมทริกซ์ A ซึ่งเป็นเมทริกซ์ที่1 ใส่จำนวนหลักของเมทริกซ์ A

ตัวอย่างการใช้โหมด 3 การบวกเมทริกซ์ (ต่อ) ขั้นตอนการหาโดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ป้อนข้อมูลลงในเมทริกซ์ Aโดยไล่ตามแถว

ตัวอย่างการใช้โหมด 3 การบวกเมทริกซ์ (ต่อ) ขั้นตอนการหาโดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ใส่จำนวนแถวของเมทริกซ์ B ซึ่งเป็นเมทริกซ์ที่2 ใส่จำนวนหลักของเมทริกซ์ B

ตัวอย่างการใช้โหมด 3 การบวกเมทริกซ์ (ต่อ) ขั้นตอนการหาโดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ป้อนข้อมูลลงในเมทริกซ์ Bโดยไล่ตามแถว

ตัวอย่างการใช้โหมด 3 การบวกเมทริกซ์ (ต่อ) ขั้นตอนการหาโดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) แสดงข้อมูลที่ป้อนลงในเมทริกซ์ A และ B

ตัวอย่างการใช้โหมด 3 การบวกเมทริกซ์ (ต่อ) ขั้นตอนการหาโดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) แสดงผลลัพธ์ที่ได้

การใช้โหมด 8 โหมด 8 ใช้กับการทำงานกับ 2 เมทริกซ์โดยมีการดำเนินการที่มีมากกว่า 1 ตัวอย่างเมทริกซ์ที่สามารถใช้โหมด 8 ในการคำนวณหาค่าได้ 3A+5B , (C x D2)t , det((-2A x C)2)

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ กำหนดให้ เมทริกซ์ A และ B มีค่าดังนี้ A = 2 -3 B = 5 -1 4 6 -7 0 ทำการหา (2AxB)t ทำการหาด้วยมือโดย (2AxB)= 4 -6 x 5 -1 = 20+42 -4+0 8 12 -7 0 40-84 -8+0 = 62 -4 -44 -8

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ (2AxB)t= 62 -4 t -44 -8 = 62 -44 -4 -8

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation ใส่โหมด 8 ใส่ตัวเลขโหมดของการดำเนินการของเมทริกซ์ A ซึ่งเป็นเมทริกซ์ที่1 ตัวเลข 1 ไม่มีการดำเนินการใดๆ ตัวเลข 2 การหาทรานสโพสของเมทริกซ์ A ตัวเลข 3 การหาอินเวอร์สของเมทริกซ์ A ตัวเลข 4 การหาเมทริกซ์ A ยกกำลัง n n1-power

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ใส่ตัวเลขโหมดของการดำเนินการของเมทริกซ์ A กับเมทริกซ์ B ตัวเลข 1 การบวกเมทริกซ์ A กับ B ตัวเลข 2 การลบเมทริกซ์ A กับ B ตัวเลข 3 การคูณเมทริกซ์ A กับ B

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ใส่ตัวเลขโหมดของการดำเนินการของเมทริกซ์ B ซึ่งเป็นเมทริกซ์ที่2 ตัวเลข 1 ไม่มีการดำเนินการใดๆ ตัวเลข 2 การหาทรานสโพสของเมทริกซ์ B ตัวเลข 3 การหาอินเวอร์สของเมทริกซ์ B ตัวเลข 4 การหาเมทริกซ์ B ยกกำลัง n n2-power

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ใส่ตัวเลขโหมดของการแทนค่าสมาชิกให้กับเมทริกซ์ B ตัวเลข 1 ไม่มีการแทนค่าสมาชิกของเมทริกซ์ A ให้กับเมทริกซ์ B ตัวเลข 2 มีการแทนค่าสมาชิกของเมทริกซ์ A ให้กับเมทริกซ์ B ตัวเลข 3 แทนค่าสมาชิกของเมทริกซ์ B ด้วยเมทริกซ์ 0

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ใส่ตัวเลขโหมดของการดำเนินการกับเมทริกซ์ทั้งหมด ตัวเลข 1 ไม่มีการดำเนินการใดๆ ตัวเลข 2 การหาทรานสโพสของเมทริกซ์ทั้งหมด ตัวเลข 3 การหาอินเวอร์สของเมทริกซ์ทั้งหมด ตัวเลข 4 การหาเมทริกซ์ทั้งหมด ยกกำลัง n

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ใส่ตัวเลขโหมดของการหาดีเทอร์มินันต์กับเมทริกซ์ทั้งหมด ตัวเลข 1 ไม่ทำการหาดีเทอร์มินันต์ ตัวเลข 2 ทำการหาดีเทอร์มินันต์

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) แสดงรูปแบบของเมทริกซ์ที่ทำการหา ใส่สเกลาร์ของเมทริกซ์ A ใส่สเกลาร์ของเมทริกซ์ B

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ใส่จำนวนแถวของเมทริกซ์ A ซึ่งเป็นเมทริกซ์ที่1 ใส่จำนวนหลักของเมทริกซ์ A

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ป้อนข้อมูลลงในเมทริกซ์ Aโดยไล่ตามแถว แสดงค่าสมาชิกของเมทริกซ์ A

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ใส่จำนวนแถวของเมทริกซ์ B ซึ่งเป็นเมทริกซ์ที่2 ใส่จำนวนหลักของเมทริกซ์ B

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) ป้อนข้อมูลลงในเมทริกซ์ Bโดยไล่ตามแถว แสดงค่าสมาชิกของเมทริกซ์ B

ตัวอย่างการใช้โหมด 8 การดำเนินการกับเมทริกซ์ที่มีตัวดำเนินการมากกว่า 1 ตัวดำเนินการ ขั้นตอนการหา (2AxB)t โดยใช้โปรแกรม Matrix Operation (ต่อ) แสดงผลลัพธ์ที่ได้จาก (2AxB)t

จบ ปฏิบัติการที่ 4 การดำเนินการกับเมทริกซ์ จบ ปฏิบัติการที่ 4 การดำเนินการกับเมทริกซ์