คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

Carbohydrates  Macromolecules  Micromolecules - sucrose - starch
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
GT-1 ENGINE TREATMENT หัวเชื้อสารเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องยนต์ จีที-วัน
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
ชื่อ นาย ศุภสุข โตฟาเละ รหัส 00352
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
นักโภชนาการน้อย.
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
อาหารหลัก 5 หมู่.
โครเมี่ยม (Cr).
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
การออกแบบและเทคโนโลยี
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวต (Chemical basic of organisms)
Carbohydrate and Polynucleotide
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
เคมีในอาหาร 1.
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE.
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
บทที่ 3 คาร์โบไฮเดรต.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE II.
องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน
การรักษาดุลภาพของเซลล์
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
วิชา ECE 1406 อาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) บทที่ 10 สารชีวโมเลกุล (Biomolecules)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ด้วยความห่วงใยจากฝ่ายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย
ชั่วโมงที่ 32–33 สมบัติบางประการ ของคาร์โบไฮเดรต
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แบ่งเป็น 4 เรื่อง
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
CARBOHYDRATE METABOLISM
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
ระบบย่อยอาหาร.
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
ความเข้มข้นของสารละลาย
Structure of Flowering Plant
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ชีวโมเลกุล.
นำเสนอโดย ABC DEFG คณะเกษตรศาสตร์สาขา สัตวศาสตร์
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)

คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) สารประกอบอินทรีย์ที่พบ มากที่สุด ในธรรมชาติ ประกอบด้วยธาตุ C, H, O และ H:O = 2:1 มี monomer คือ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (CH2O)n  สูตรโมเลกุล

คาร์โบไฮเดรต มอโนแซ็กคาไรด์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ พอลิแซ็กคาไรด์

มอโนแซ็กคาไรด์ (monosaccharide) คาร์โบไฮเดรตที่มีขนาดโมเลกุล เล็กที่สุด มีรสหวาน ละลายน้ำได้ สูตรทั่วไป CnH2nOn โดย n มีค่า ตั้งแต่ 3 – 7

มอโนแซ็กคาไรด์ เพื่อบ่งบอกจำนวนคาร์บอนในมอโนแซ็กคาไรด์ เรามักจะเรียกชื่อตาม จำนวนคาร์บอน ที่เป็นองค์ประกอบ ดังนี้ C3 C4 C5 C6 C7

น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว Triose (C3H6O3) Hexose (C6H12O6) Tetrose (C4H8O4) Heptose (C7H14O7) Pentose (C5H10O5)

Pentose (C5H10O5) Ribose (C5H10O5) Deoxyibose (C5H10O4)

Hexose (C6H12O6) Glucose Galactose Fructose

โอลิโกแซ็กคาไรด์ (oligosaccharide) มีรสหวาน ละลายน้ำได้ เกิดจากการเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเคมี (พันธะไกลโคซิดิก) ของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวตั้งแต่ 2-10 โมเลกุล ได้เป็น disaccharide, trisaccharide,…

น้ำตาลโมเลกุลคู่ Maltose Glucose Glucose Lactose Glucose Galactose Sucrose Glucose Fructose

น้ำตาลโมเลกุลคู่ Maltose Lactose Sucrose

พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) รสไม่หวาน ไม่ละลายน้ำ เกิดจากการเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเคมี (พันธะไกลโคซิดิก) ของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวตั้งแต่ 11 โมเลกุลขึ้นไปทำหน้าที่ในสิ่งมีชีวิต 2 แบบ คือ เป็นอาหารสะสม หรือ โครงสร้าง

พอลิแซ็กคาไรด์ อาหารสะสม โครงสร้าง แป้ง เซลลูโลส ไกลโคเจน ไคติน

แป้ง (Starch) อาหารสะสมในพืช ประกอบด้วยโครงสร้างย่อย 2 ชนิด คือ Amylose เป็นแบบไม่แตกแขนง และ Amylopectin เป็นแบบแตกแขนง

ไกลโคเจน (Glycogen) สะสมในคนและสัตว์ โดยสะสมอยู่ที่ ตับ และ กล้ามเนื้อลาย มีลักษณะคล้ายกับ amylopectin แต่มีขนาดใหญ่กว่า

เซลลูโลส (Cellulose) เป็นโครงสร้างในผนังเซลล์ของพืช โครงสร้างเป็นสายเรียงชิดติดกันไม่แตกแขนง

ไคติน (Chitin) เป็นโครงสร้างของสัตว์พวกที่มีโครงร่างแข็งภายนอก (Exoskeleton) เช่น พวก กุ้ง กั้ง ปู และผนังเซลล์ของพวกฟังไจ (เห็ด รา ยีสต์)

พอลิแซ็กคาไรด์อื่นๆ - ลิกนิน (lignin) ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้เนื้อเยื่อพืช - วุ้น (Agar) โครงสร้างของผนังเซลล์สาหร่ายสีแดง (กาแล็กโตส) - อินูลิน (Inulin) อาหารสะสมในพวกพลับพลึง (ฟรักโทส) - เพกติน (Pectin) พบในผลไม้ คล้ายวุ้น (กาแล็กโตส) - กรดไฮยารูโรนิก (Hyaluronic acid) พบทั่วไปในร่างกายมนุษย์

สาระสำคัญ

ประโยชน์ของคาร์โบไฮเดรต เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย เป็นแหล่งพลังงานสำรอง (ไกลโคเจน และแป้ง) เป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ ร่างกายสามารถเปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตให้เป็นไขมัน ในวันหนึ่งๆ ควรบริโภคคาร์โบไฮเดรตอย่างน้อย 50–100 กรัม

การทดสอบคาร์โบไฮเดรต แป้งและไกลโคเจน หยดสารละลายไอโอดีน สีน้ำตาลลงไปแป้งจะ เป็นสีน้ำเงิน ไกลโคเจนจะเป็นสีแดง น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวและคู่ (ยกเว้น ซูโครส) เมื่อนำไปต้มกับสารละลายเบเนดิกต์สีฟ้า จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ