วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
การพูดในที่สาธารณะ.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
ประเภทของโครงงาน ครูกตัญชลี เอกวุธ.
โครเมี่ยม (Cr).
แนวโน้มอุณหภูมิที่ส่งผล ต่อปริมาณการผลิตลิ้นจี่ ในจังหวัดเชียงราย นายทยากร พร มโน รหัส
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
1. รู้ถึงความต้องการของตัวเอง ก่อนก่อนเริ่มต้นออกแบบ เมื่อคุณเริ่มคิดจะออกแบบโบรชัวร์ออกมาอย่างไร ให้เริ่มต้น สอบถามลูกค้าของคุณก่อนว่าทำไม เค้าต้องการโบร์ชัวร์
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ (William Harvey)
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
ประวัติของ ชาลส์ ดาร์วิน และ ผลงาน.
DC Voltmeter.
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ครูปฏิการ นาครอด.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
โยฮันเนส เคปเลอร์.
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur)
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
นิโคลัส โคเปอร์นิคัส Nicolaus Copernicus
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
หลุยส์ ปาสเตอร์.
นาย นภณัฐ รักพงษ์ ม.4.2 เลขที่.7
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
Benjamin Franklin เบนจามิน แฟรงคลิน
ยุคกลาง : Medieval Age The Black Death A.D 1348 อาจารย์สอง Satit UP.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
Khuanchai Kamontheptawin no.19 m4.1
หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur)
นาย พิศณุ นิลกลัด.
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กระบวนการสร้างงานแอนิเมชัน
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 

ดญ.อาทิตยา ไชยบาล ม.4.1 เลขที่ 17 จัดทำโดย ดญ.อาทิตยา ไชยบาล ม.4.1 เลขที่ 17

เคยมีความเชื่อว่า  "โลกแบน"   หากใครเดินทางไปสุดขอบโลก  จะต้องตกลงไป  จนกระทั่งคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส  นักเดินเรือและสำรวจทางทะเล  ชาวอิตาลีได้เดินทางไปค้นพบดินแดนใหม่  หรือทวีปอเมริกาในปัจจุบัน  ทำให้พิสูจน์ได้ว่า "โลกกลม"   ซึ่งนั่นทำให้ความเชื่อผิด ๆ ที่เคยเชื่อกันว่า "โลกแบน" ได้ถูกทำลายหายไป

วิลเลี่ยม ฮาร์วีย์  (William Harvey) เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลเซนต์บาร์โทโลมิวกรุงลอนดอน  เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1578  ที่เมืองฟอล์คสโตน ประเทศอังกฤษ  ด้วยอาชีพแพทย์ที่ทำอยู่นี้  ทำให้เขาได้มีโอกาสศึกษากรณีตัวอย่างจากผู้ป่วยหลายราย  จนในที่สุดเขาก็ได้รวบรวมความรู้ทั้งหมดที่เกี่ยวกับระบบไหลเวียนเลือด ตีพิมพ์ผลงานในหนังสือชื่อว่า  “การทำงานของหัวใจและระบบไหลเวียนของเลือดในร่างกายสัตว์”

วิลเลียม ฮาร์วีย์  ได้อธิบายการทำงานของระบบไหลเวียนเลือดไว้ในผลงานของเขาว่า   ระบบการหมุนเวียนเลือดภายในร่างกายนั้นอาศัยการเต้นของหัวใจ  โดยหัวใจจะสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย  เลือดที่ถูกใช้แล้ว จะมีออกซิเจนต่ำ และเปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีดำ แล้วไหลกลับสู่หัวใจห้องบนขวา  จากนั้นจึงผ่านสู่หัวใจห้องล่างขวาแล้วส่งต่อไปยังปอด  เพื่อฟอกเลือดดำให้เป็นเลือดแดง  จากนั้นเลือดแดงนี้จะถูกส่งต่อไปยังหัวใจห้องบนซ้าย และส่งผ่านไปยังหัวใจห้องล่างซ้ายตามลำดับ  โดยหัวใจห้องล่างซ้ายนี้  เป็นห้องมีผนังหนาและแข็งแรงมาก  จะทำหน้าที่สูบฉีดเลือดออกไปเลี้ยงทั่วทุกส่วนของร่างกาย    และเมื่อถูกใช้แล้วก็จะส่งกลับเข้าสู่หัวใจอีกครั้งเป็นวงจรเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ   นอกจากนี้แล้วเขายังพบว่า หัวใจแต่ละห้อง มีลิ้นหัวใจ คอยทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ

วิลเลียม ฮาร์วีย์  อธิบายการไหลเวียนของเลือดนั้นมีลักษณะเป็นวงกลมที่เหมือนวงจรหมุนเวียนไปเรื่อย ๆ ซึ่งต่างจากความเชื่อในเวลานั้นที่เชื่อว่าการไหลเวียนเลือดเหมือนคลื่นทะเล ที่มีลักษณะกลับไปกลับมา  เป็นที่น่าเสียดายว่า แม้เขาจะได้เพียรพยามยามอธิบายและเผยแพร่ผลงานออกไป   แต่ก็ยังไม่สามารถทำให้ผู้อื่นเชื่อถือในผลงานของเขาได้  จนกระทั่งเขาเสียชีวิตในที่สุด

หลังจากนั้น อังตวน แวน เลเวนฮุค (Anton Van Leeuwenhoek)  ก็ได้สามารถประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ออกมาได้สำเร็จ  ซึ่งนั้นเป็นเครื่องมือที่ทำให้พิสูจน์ได้ว่า  ระบบการไหลเวียนของเลือดในร่างกายมนุษย์เป็นไปตามที่วิลเลียม ฮาร์วีย์ได้เคยอธิบายไว้  ความเชื่อในเรื่องระบบไหลเวียนเลือดผิดๆ ที่เคยมีมาจึงได้หายไป  และวิลเลียม ฮาร์วีย์จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ค้นพบระบบไหลเวียนเลือด