Educational Standards and Quality Assurance

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เครื่องมือคุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา 1.
Advertisements

หมายเหตุ ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย x ทับข้อ a.b,c ที่เห็นว่าถูกที่สุดเพียงข้อ เดียว.
KAIZEN ( ไค-เซ็น ).
การวางแผน Planning.
การบริหารจัดการ PDCA cycle
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
วิธีการคิดวิเคราะห์.
บทที่ 9 การบริหารคุณภาพ Quality Control and Management
NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image. แนวทางการขับเคลื่อน.
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
การฝึกอบรมคืออะไร.
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
Lab 01 : พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
Food safety team leader
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
“วัฒนธรรมองค์กร” (Organization Culture)
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
การทำงานเชิงวิเคราะห์
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Advanced Topics on Total Quality Management
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
ไคเซ็น KAIZEN.
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
SERVICE MARKETING พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
การกระจายของโรคในชุมชน
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
Review of the Literature)
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
หน่วยที่1 หลักการวางแผนเป้าหมายชีวิต
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
Continuous Quality Improvement
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
พลตำรวจตรี สุรัตน์ อรุณฤกษ์ถวิล อาจารย์ (สบ
บทที่ 5 ไคเซน.
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ HR Planning
บทที่ 3 พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
DIRT time – Acting upon that feedback
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Educational Standards and Quality Assurance KAIZEN

ความหมายของไคเซน KAIZEN

“ไคเซ็น กุญแจสู่ความสำเร็จแบบญี่ปุ่น เครื่องมือสำคัญ ความหมายของไคเซ็น ไคเซ็น (Kaizen) เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่าการปรับปรุง โดยเป็นคำธรรมดาสามัญที่ใช้ในการพูดการเขียนของคนญี่ปุ่น เช่นเดียวกับคำว่าการปรับปรุงในภาษาไทย แต่คำว่าไคเซ็น ได้กลายเป็นคำที่ถูกหยิบยกมาให้ความสำคัญจนเป็นหลักการที่นำมาซึ่งความเจริญก้าวหน้าของประเทศญี่ปุ่น เป็นหลักการที่ถูกหยิบยกมาเขียนเป็นตำรา “ไคเซ็น กุญแจสู่ความสำเร็จแบบญี่ปุ่น เครื่องมือสำคัญ เพื่อประสบชัยชนะในการบริหารการผลิต และการตลาด”

นิพนธ์ บัวแก้ว ไคเซ็น เป็นภาษาญี่ปุ่นที่มีความหมายถึงการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตลอดไป (Continual Improvement) เนื่องจาก ไค (KAI) แปลได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลง (change) และเซ็น (ZEN) หมายถึง ดี (good) โดย ไคเซ็นเป็นแนวความคิดของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องที่เน้นการมีส่วนร่วม (Participation) ของทุกคนเป็นหลัก และเชื่อในเรื่องปริมาณของสิ่งที่ทำการปรับปรุงมากกว่าผลที่ได้จากการปรับปรุง (Return of Improvement)

สมบัติ นพรัก ไคเซ็น (Kaizen) เป็นภาษาญี่ปุ่น หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดยั้ง และยังหมายถึง วิธีการดำเนินการปรับปรุง ที่เกี่ยวข้องกับทุกคน ทั้งผู้บริหาร และผู้ร่วมงาน ปรัชญาของไคเซ็นถือว่าวิถีชีวิตของคนเราเป็นชีวิตแห่งการทำงาน ชีวิตทางสังคม และชีวิตทางครอบครัวที่ควรจะได้รับการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ

สรุป ความหมายของไคเซ็น ไคเซ็น เป็นศัพท์ภาษาญี่ปุ่น ซึ่งถอดความหมายจากศัพท์ได้ว่า การปรับปรุง (Improvement) โดยเป็น แนวคิดที่นำมาใช้ในการบริหารการจัดการการอย่างมีประสิทธิผล โดยมุ่งเน้นที่การมีส่วนร่วมของพนักงานทุกคน ร่วมกันแสวงหาแนวทางใหม่ๆ เพื่อปรับปรุงวิธีการทำงานและสภาพแวดล้อมในการทำงานให้ดีขึ้นอยู่เสมอ หัวใจสำคัญอยู่ที่ต้องมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด (Continuous Improvement) ไคเซ็นจึงเป็นแนวคิดที่จะช่วยรักษามาตรฐานที่มีอยู่เดิม (Maintain) และปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น (Improvement)

ประโยชน์ของการทำไคเซ็น การสนับสนุนให้เกิด "การใช้ความคิด" ไม่ใช่ "การตรากตรำทำงาน" มุ่งที่จะลด/เลิกภาระที่ไม่จำเป็น เปลี่ยนไปสู่วิธีอื่นที่เหมาะสมกว่า ระบบไคเซ็นจะเป็นไปได้เมื่อผู้ทำเห็นว่าการทำไคเซ็นนั้นเป็นประโยชน์ต่อตนเอง และทำไปด้วยความเต็มใจ

คุณลักษณะของกิจกรรมไคเซ็น โกศล ดีศีลธรรม กล่าวไว้ว่าโดยทั่วไปกิจกรรม ไคเซ็นจะมี 2 มุมมอง นั่นคือ การให้ความสนใจต่อการดำเนินงานหรือการผลิตแบบเซลล์ การไหลของระบบงานที่มุ่งปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร

ลักษณะสำคัญของไคเซ็น 1) มุ่งดำเนินการในช่วงระยะเวลาอันสั้น (Short-term) 2) มุ่งการทำงานเป็นทีม (Team-oriented) 3) การมุ่งจุดเน้น (Highly Focused) 4) มุ่งเน้นการปฏิบัติการ (Action-oriented) 5) สามารถทวนสอบด้วยมาตรวัด (Verifiable Metrics) 6) การดำเนินซ้ำ (Repetitive)

ขอบเขตการใช้ไคเซนปรับปรุง ขั้นตอนการวางแผนดำเนินการ 6.การติดตามวัดผล 5.กำหนดช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม 4.การเตรียมการล่วงหน้า 3.การสนับสนุนจากผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง 2.การคัดเลือกทีมงาน 1.กำหนดพันธกิจ

แนวทางและขั้นตอนในการปรับปรุงแบบไคเซน ชำนาญ รัตนากร 1. ค้นหาปัญหาและกำหนดหัวข้อแก้ไขปัญหา 2. วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน 3. วิเคราะห์สาเหตุ 4. กำหนดวิธีการแก้ไข 5. ใครเป็นคนทำและทำอย่างไร 6. ลงมือดำเนินการ 7. ตรวจดูผลและผลกระทบ

กิจกรรมไคเซ็นตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) P-Plan การวางแผนจะมีการศึกษาปัญหาพื้นที่หรือกระบวนการที่ต้องการปรับปรุงและจัดทำมาตรวัดสำคัญ (Key Metrics) สำหรับติดตามวัดผล การนำผลลัพธ์หรือแนวทางในช่วงของการวางแผนมาใช้ดำเนินการสำหรับ Kaizen Events ภายในช่วงเวลาอันสั้นโดยมีผลกระทบต่อเวลาทำงานน้อยที่สุด D-Do C-Check มาตรวัดที่จัดทำขึ้นสำหรับติดตามวัดผลการดำเนินกิจกรรมตามวิธีการใหม่ (New Method) เพื่อเปรียบวัดประสิทธิผลกับแนวทางเดิม นำข้อมูลที่วัดผลและประเมินในช่วงของการตรวจสอบเพื่อใช้สำหรับดำเนินการปรับแก้ (Corrective Action) ด้วยทีมงานไคเซ็น A-Act

วิธีคิดเพื่อหาทางปรับปรุงตามแนวคิดไคเซ็น What? เป็นการตั้งคำถามเพื่อหาจุดประสงค์ของการทำงาน When? เป็นการตั้งคำถามเพื่อหาเวลาในการทำงานที่เหมาะสม Where? เป็นการตั้งคำถามเพื่อหาสถานที่ทำงานที่เหมาะสม Who? เป็นการตั้งคำถามเพื่อหาบุคคลที่เหมาะสมสำหรับงาน How? เป็นการตั้งคำถามเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมสำหรับงาน Why? เป็นการตั้งคำเป็นคำถามที่ถามครั้งที่ 2

บทบาทของผู้บริหารต่อความสำเร็จของไคเซ็น 1) เป็นผู้นำและริเริ่มการเปลี่ยนแปลงด้วยไคเซ็น 2) เป็นประธานในการนำเสนอผลงานความคิดของพนักงานในองค์กร 3) นำเสนอรางวัลและให้คำรับรอง เพื่อให้เกิดการยอมรับ (Recognition) 4) มีการติดตามการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ

Thanks