การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำไมต้องเร่งรัดการควบคุมวัณโรคต่อไป (2553)
Advertisements

ผลการคัดกรอง ค้นหาวัณโรค อำเภอ (ณ ตค. -31 มีค. 2552)
Bonne Année Selamat Tahun Baru Happy New Year سنة سعيدة สวัสดีปีใหม่2010 From TB Clinic, Yaring Hopital.
Bonne Année Selamat Tahun Baru Happy New Year سنة سعيدة สวัสดีปีใหม่2010 From TB Clinic, Yaring Hopital สานฝันปันปัญญากับ HRD ครั้งที่ 1/2553.
other chronic diseases
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552 ชื่อ ……… นามสกุล ……… สถานบริการ ………………
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
Maesai Hospital GREE N. บริบทของพื้นที่และ ผู้รับบริการ.
กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานการ ตรวจสอบน้ำนมดิบ โดย กสส. สตส. สคบ. สทป. 8 กันยายน 2558.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการเชิงรุกเพื่อค้นหาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ นพ.สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ที่รองแขนฟองน้ำ หลักการและเหตุผล : เนื่องจากห้องผ่าตัดมีอุณหภูมิเย็น ผู้ป่วยที่มาผ่าตัดส่วนมากเวลาทำผ่าตัดจะจัด ท่านอนหงายราบ วัตถุประสงค์ : :
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
การพัฒนางานผู้ป่วยนอก
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
Case Study : 12 จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์เกินราคามาตรฐานครุภัณฑ์ จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ ความสว่าง 3,500 ANSI Lumens พร้อมติดตั้ง จำนวน 1 ชุด.
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
การผลักดันเชิงนโยบายในการสนับสนุน และส่งเสริมการบริหารจัดการถุงยางอนามัย ระดับประเทศ โดย แพทย์หญิงมณฑินี วสันติอุปโภคากร นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ สำนักโรคเอดส์
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เข้าสู่วาระการประชุม
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สิทธิมนุษยชน ขั้นพื้นฐาน.
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
การบริหารจัดการประเมินและดูแลผู้ป่วย ก่อนกลับเข้าทำงาน
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
รับฟัง วีดีทัศน์แนะนำ HRCI
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
โรงพยาบาลคุณธรรม โรงพยาบาลชะอำ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
การประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสังเคราะห์บทเรียน 3 ปี
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปตัวชี้วัด ของหน่วยตรวจพิเศษ ปี 57.
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
การประชุมกลุ่ม เรื่องการพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
ตัวชี้วัดด้านวัณโรค รอบ NFM หน่วยงาน สสจ.ชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ น.พ.พรเพชร ปัญจปิยะกุล สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข

การพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ต้องขังในเรือนจำ ของกระทรวงสาธารณสุข

ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค ได้ดำเนินงานด้านการส่งเสริม ควบคุม ป้องกันโรค มาประมาณ ๗ ปี ปี ๒๕๕๔ -ทำ MOU ร่วมกับกรมราชทัณฑ์ ในการป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพในเรือนจำ และจัดทำแนวทางปฏิบัติการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในเรือนจำ ให้เรือนจำ ๑๔๔ แห่ง ใน ๗๖ จังหวัดใช้ดำเนินการ ปี ๒๕๕๗ - มีแผนการลงพื้นที่เพื่อติดตามการใช้แนวทางฯ ดังกล่าว เพื่อรับทราบผลการดำเนินการและปัญหาอุปสรรค - ทดลองนำร่องส่งเสริมการจัดบริการในเรือนจำ โดยใช้พื้นที่ของทัณฑสถานในจังหวัดปทุมธานี จำนวน ๓ แห่ง โดยจะมีการค้นหา Case TB และ HIVร่วมด้วย

กรมสุขภาพจิต ส่วนกลาง : มีสถาบันกัลยาราชนครินทร์ ให้การสนับสนุนด้านวิชาการ โดยจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยด้านจิตเวชให้เรือนจำทุกแห่ง และมีแผนจะประเมินผลการดำเนินการในปี 2557 ส่วนภูมิภาค : เป็นบทบาทของโรงพยาบาลจิตเวชในพื้นที่ ดำเนินการให้บริการเชิงรุก ได้แก่ ตรวจสุขภาพจิตผู้ต้องขังในเรือนจำ โดยเฉพาะนักโทษประหาร การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัว การป้องกันการกระทำผิดซ้ำ การวางระบบและการป้องกันร่วมกับกรมราชทันต์ และการวางระบบการนิเทศ ติดตาม พัฒนาเทคโนโลยีและคู่มือผ่านกองบริการทางการแพทย์ กรมราชฑัณฑ์ วางระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช หากเกินขีดความสามารถของเรือนจำ แผนงาน ปี ๒๕๕๗ จะสานต่องานเดิมในด้านการส่งเสริมป้องกัน การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัว เพื่อประเมินภาวะทางสุขภาพจิต และป้องกันการกระทำผิดซ้ำ

กองสนับสนุนบริการสุขภาพภาคประชาชน กรมอนามัย ยังไม่มีแผนงานร่วมกับกรมราชทัณฑ์ แต่เคยร่วมเขียนคู่มือฯ ด้านการส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย กองสนับสนุนบริการสุขภาพภาคประชาชน เคยให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขในเรือนจำ

ด้านสิทธิคุ้มครองแก่ผู้ต้องขัง สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ: สปสช. ด้านสิทธิคุ้มครองแก่ผู้ต้องขัง 1. ใช้สิทธิเช่นเดียวกับประชาชนไทยทั่วไป แต่อาจขอย้ายหน่วยบริการไปยังพื้นที่ตั้งของเรือนจำ โดยให้ทางเรือนจำทำเรื่องขอย้ายให้ 2. ด้านการส่งเสริมป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้พิการ อยู่ในขอบเขตของกฎหมายกองทุนผู้พิการหรือกองทุนต่าง ๆ ที่มีอยู่ 3. ปัญหาการแพร่กระจายของโรคเอดส์และวัณโรคซึ่งพบในผู้ต้องขังจำนวนมาก จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุนวัณโรคและโรคเอดส์ฯ ปัจจุบันมีโรงพยาบาลของกรมราชทัณฑ์เพียงแห่งเดียวที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการหลักกับ สปสช. หากมีการย้ายเรือนจำของผู้ต้องขังที่ป่วย ทางเรือนจำต้องทำเรื่องย้ายสถานบริการเดิมมายังสถานบริการใหม่ในเขตพื้นที่ให้บริการเรือนจำที่ย้ายไป

โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ปัจจุบันมีความหลากหลายในการให้บริการผู้ป่วยในเรือนจำ เพราะยังไม่มีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน เช่นตัวอย่างการให้บริการของรพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ มีการจัดระบบการบริหารจัดการการดูแลเรือนจำในพื้นที่เช่นเดียวกับการดูแล รพ.สต.ในเครือข่าย โดยให้การสนับสนุนทรัพยากรต่างๆ

สรุป ๑. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจะดำเนินการพัฒนาระบบบริการบริการสุขภาพผู้ต้องขังในเรือนจำ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสถานพยาบาลในสังกัดให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ๒. สปสช. จะพิจารณาหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาลสำหรับหน่วยพยาบาลของกรมราชทัณฑ์ การตรวจสอบสิทธิของผู้ต้องขังที่ป่วย รวมทั้งแนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ต้องขังต่างชาติด้วย เพื่อทบทวนหลักเกณฑ์ที่มีข้อจำกัดในการจัดบริการ และให้มีความชัดเจนในเรื่องหลักประกันตามสิทธิ โดยขั้นตอนการดำเนินการขอให้กรมราชฑัณฑ์เสนอเรื่องต่อสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติโดยตรงต่อไป

แนวทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ต้องขังในเรือนจำ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจะเน้นการบริหารจัดการให้เกิดระบบบริการของหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม เพื่อการดำเนินการในทิศทางเดียวกัน

การป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในเรือนจำ การรักษาพยาบาล ร่างแนวทางการดำเนินงานจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ ของกระทรวงสาธารณสุข หลักการโดยเน้น ๔ ด้าน การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในเรือนจำ การรักษาพยาบาล 4. การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์

ตัวอย่าง ร่างแนวทางการดำเนินงานจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำของกระทรวงสาธารณสุข การบริหารจัดการหน่วยบริการสุขภาพทุกระดับ จัดตั้งกรรมการประสานงานระดับจังหวัด ประกอบด้วย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เป็นประธาน ผู้บัญชาการเรือนจำ สำนักงานประกันสุขภาพเขตที่รับผิดชอบ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลในพื้นที่รับผิดชอบเรือนจำ องค์กรส่วนท้องถิ่น และบุคลากรอื่นที่เหมาะสม เพื่อกำหนดนโยบาย ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงานและติดตามประเมินผล 2. วางแผนการส่งเสริมสนับสนุนโดยทีมบริการสุขภาพไปให้บริการสุขภาพเป็นระยะ

ตัวอย่าง ร่างแนวทางการดำเนินงานจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำของกระทรวงสาธารณสุข การบริหารจัดการหน่วยบริการสุขภาพทุกระดับ (ต่อ) 3. จัดระบบการให้บริการที่ OPD เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ต้องขัง 4. จัดระบบบริการการส่งต่อผู้ป่วยที่เหมาะสม 4. จัดระบบการรักษาและการให้คำปรึกษาแบบ Telemedicine 5. มีการติดตามประเมินผล อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง

สวัสดี