SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 31 Mar 2017.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
และความปลอดภัยในโรงพยาบาล
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ศูนย์สุขภาพชุมชน (Mini Health Center)
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
RIHES-DDD TB Infection control
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 8 Jul 2016.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
SMS News Distribute Service
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
หมวดที่ 4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 31 Mar 2017

จุดประสงค์ ( Purpose) และ ขอบเขตการใช้งาน ( Applies for) เพื่อให้จนท. ของโครงการวิจัยในสถาบันฯ (Health Care Worker-HCW) ที่ต้องสัมผัสผู้ป่วยสงสัย หรือ ยืนยันว่าเป็นวัณโรค ปฏิบัติตัวได้ถูกต้องเพื่อป้องกันการเป็นวัณโรคและป้องกันการแพร่เชื้อวัณโรคของอส.ที่ป่วยหรือมีความเสี่ยงต่อโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ

วิธีดำเนินการ (Procedures) สถานที่ (Facility level Measurers) การบริหารจัดการ (Administrative controls) การควบคุมสิ่งแวดล้อม (Environmental controls) อุปกรณ์และการป้องกัน (Personal protective equipment -PPE)

วิธีดำเนินการ (Procedures) สถานที่ (Facility level Measures) Administrative controls Environmental controls Personal protective equipment (PPE)

ตู้เก็บเสมหะ (Biosafety Cabinet For Respiratory Disease) ใช้ในการเก็บเสมหะของผู้ที่สงสัย/เป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ -อยู่ในบริเวณส่วนรอตรวจ หน้าห้องตรวจ 4 -เป็นระบบปิด และมีระบบฆ่าเชื้อด้วยแสง Ultra Violet ทั้งก่อนและหลังการใช้งาน

ห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ (Respiratory Infection Treatment Room) -มีการควบคุมระบบความดันอากาศเป็น Negative pressure -มีระบบการระบายอากาศแยกจากระบบส่วนกลาง -มีระบบทำความสะอาดอากาศก่อนปล่อยออกภายนอก ร่วมกับมีเครื่องฟอกอากาศ HEPA filter -มีการตรวจสอบการจัดวางตำแหน่งอุปกรณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ส่วนรอตรวจ ( waiting area) เป็นสถานที่โล่ง มีอากาศถ่ายเท ซึ่งจัดทำเป็นสวนหย่อมหน้าห้องตรวจ 4

วิธีดำเนินการ (Procedures) Facility level Measures การบริหารจัดการ (Administrative controls) Environmental controls Personal protective equipment (PPE)

หากบุคคลใดทั้งจนท. และ อส หากบุคคลใดทั้งจนท. และ อส. มีอาการไอ จาม ให้ใช้หน้ากากอนามัย ( Surgical Mask) ซึ่งจัดเตรียมไว้ในคลินิกวิจัยทุกคลินิก 2. ให้จนท. ประจำจุดแรกที่พบอส. ซักประวัติเบื้องต้นเพื่อคัดกรองวัณโรค ประกอบด้วยอาการ ไอเรื้อรัง 2 สัปดาห์ขึ้นไป ไอเป็นเลือด อาการไข้ เหงื่อออกตอนกลางคืน น้ำหนักลด เบื่ออาหาร หากพบ 2 อาการขึ้นไป แนะนำให้อส.ใส่หน้ากากอนามัยชนิด surgical mask และ แยกอส. เข้าห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ (โทร 36058) หมายเหตุ หากอส. รายดังกล่าวเป็นอส.ที่พบในคลินิกหรือโครงการวิจัยอื่นของสถาบันฯ ที่ไม่ได้ใช้คลินิกรักษ์สุขภาพ ในการตรวจอส ขอให้จนท.ในคลินิกที่พบอส.หรือผู้ป่วยดังกล่าว โทร 36058 (คลินิกรักษ์สุขภาพ) เพื่อให้จนท.ประจำคลินิกรักษ์สุขภาพได้จัดเตรียมห้องตรวจ 4 เพื่อรอรับการมาใช้บริการของคลินิก/โครงการนั้นๆ ต่อไป

3. การดูแลอส.หรือผู้ป่วยที่สงสัย/ยืนยันว่าเป็นวัณโรคหรือวัณโรคดื้อยา หรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ ให้ดำเนินการดูแลแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop service) ณ. ห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ และจัดหาผ้าปิดปากและจมูกให้ผู้ป่วยสวมและให้กระดาษทิชชูแก่ผู้ป่วยเพื่อใช้ปิดปากและจมูกเวลาไอจาม ส่วนจนท.ผู้ปฏิบัติงานให้ใช้หน้ากากอนามัยชนิด N95 วัณโรคดื้อยา ได้แก่ -ผู้ป่วยที่เคยได้รับการรักษามาก่อน -ผู้ป่วยที่ล้มเหลวต่อการรักษาด้วยสูตรยารักษาซ้ำ -ผู้ป่วยที่ล้มเหลวต่อการรักษาด้วยสูตรยาพื้นฐานแล้ว พบว่าเดือนที่ 5 ยังพบเชื้อในเสมหะ -ผู้ป่วยที่กลับเป็นซ้ำ (relapse) -ผู้ป่วยกลับมารักษาซ้ำหลังขาดยา -ผู้ป่วยรายใหม่ที่มีประวัติสัมผัสกับผู้ป่วย MDR-TB -ผู้ป่วยที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีความชุกของ MDR-TB สูง -ผู้ป่วยที่มีโรคร่วม มีบางการศึกษาที่พบว่าผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี พบ MDR-TB สูงขึ้น

4.. การวินิจฉัย หรือการตรวจต่างๆ ที่มีผลให้เกิดการฟุ้งกระจายของเชื้อวัณโรค ให้ดำเนินการในห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ หากต้องมีการเก็บเสมหะที่คลินิก ให้จนท.ให้คำแนะนำวิธีการเก็บเสมหะอย่างถูกวิธี และเก็บเสมหะในตู้เก็บเสมหะที่จัดเตรียมไว้ ซึ่งตั้งอยู่อยู่ในบริเวณส่วนรอตรวจ หน้าห้องตรวจ 4 คลินิกรักษ์สุขภาพ 5. หากจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อออกจากห้องแยก ให้ผู้ป่วยสวมผ้าปิดปากและจมูก (surgical mask) เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคสู่หน่วยงานอื่น 6. จัดอบรมและ/หรือส่งเสริมให้ความรู้กับบุคลากรเกี่ยวกับวัณโรค รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติการป้องกันการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ

วิธีดำเนินการ (Procedures) Facility level Measures Administrative controls การควบคุมสิ่งแวดล้อม (Environmental controls) Personal protective equipment (PPE)

มีการเปิดระบบทำลายเชื้อโรคด้วยรังสี Ultraviolet โดยจนท มีการเปิดระบบทำลายเชื้อโรคด้วยรังสี Ultraviolet โดยจนท.เปิด UV lamp ทุกวันหยุดราชการ วันละ 2 ชั่วโมง เวลา20-22 น. มีการตรวจสอบความพร้อมของตู้เก็บเสมหะ โดยจนท.เปิดสวิทช์ทดสอบการทำงานของตู้ เดือนละ 1 ครั้ง และทุกครั้งก่อนมีการใช้งาน ก่อนรับอส/ผู้ป่วยที่สงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ เข้าห้องตรวจ 4 ให้จนท.เปิดระบบการระบายอากาศและกรองเชื้อโรคเตรียมไว้ และภายหลังการใช้ให้ใช้สเปรย์ฆ่าเชื้อที่เตรียมไว้ในห้องตรวจ 4 ฉีดฆ่าเชื้อ รอนาน 1 ชัวโมงก่อนเปิดใช้ในครั้งต่อไป จนท.ล้างมือด้วยน้ำยาล้างมือหรือแอลกอฮอล์ทุกครั้งภายหลังเสร็จสิ้นหัตถการ จัดเตรียมแอลกอฮอล์ลำหรับอส.ทำความสะอาดมือไว้ในคลินิก

วิธีดำเนินการ (Procedures) Facility level Measures Administrative controls Environmental controls อุปกรณ์และการป้องกัน (Personal protective equipment -PPE)

มีการจัดเตรียมและตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ได้แก่ หน้ากากอนามัยชนิด surgical mask หน้ากาก N95 ถุงมือใช้แล้วทิ้ง ตลอดจน น้ำยาล้างมือและหรือแอลกอฮอล์ทำความสะอาด ให้พร้อมใช้อยู่เสมอ ดูแลความสะอาดเรียบร้อยของคลินิก ห้องตรวจ 4 และ ตู้เก็บเสมหะให้พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา จัดให้มีการตรวจสุขภาพจนท.สถาบันฯ ทุก 2 ปี ซึ่งมีการตรวจและซักประวัติเกี่ยวกับความเสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรค ตลอดจนมีการส่งตรวจเอกซเรย์ทรวงอก (CXR) ตามความเหมาะสม สำหรับจนท.กลุ่มเสี่ยงที่ต้องดูแลหรือสัมผัสกับผู้ป่วยหรือสิ่งส่งตรวจของอสทีหรือผู้ป่วยสงสัยหรือยืนยันว่าเป็นวัณโรค แพทย์ให้มีการชักประวัติคัดกรองปีละ 1 ครั้ง และส่งตรวจเอกซเรย์ทรวงอก (CXR) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเห็นของแพทย์ แพทย์พิจารณาให้การตรวจเพิ่มติมในกรณีจนท.มีอาการน่าสงสัยเป็นวัณโรคหรือโรคติดเชื้อในระบบหายใจ และหากตรวจพบจนท.ป่วยเป็นวัณโรค ต้องดำเนินการประสานงานและส่งต่อตามระบบการรักษาพื่อให้จนท.ดังกล่าวได้รับการรักษาตามความเหมาะสม ร่วมกับทำการตรวจสอบและคัดกรองจนท.อื่นซึ่งทำงานใกล้ชิดกับจนท.คนดังกล่าวและส่งต่อเพื่อรับยาป้องกันวัณโรคหากจำเป็น

สำหรับจนท.โครงการวิจัยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรค รวมถึงเจ้าหน้ารายใหม่ จัดให้มีการตรวจ PPD test และCXR ก่อนเริ่มโครงการ หากผลการตรวจเป็น Negative ให้ตรวจ PPD test ซ้ำทุก 2 ปี ถ้าในครั้งต่อมาตรวจพบว่าจนท.ติดเชื้อวัณโรคแฝง (ผลการตรวจเป็นบวก, CXR ปกติ) จะทำการส่งพบ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการรักษาการติดเชื้อแฝง สำหรับจนท.โครงการวิจัยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรคหรือทำโครงการเกี่ยวข้องกับโรคติดเชื้อในระบบ ทางเดินหายใจ จัดให้มีการทำ Fit test อย่างน้อยปีละครั้ง ส่วนจนท.ใหม่ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อวัณโรคหรือทำโครงการเกี่ยวข้องกับโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหาย ให้ทำ Fit test ก่อนให้การดูแลผู้ป่วยหรือก่อนเริ่มทำงานในโครงการ RIHES PPD test yr2015 : total 43 Positive 6 (14%), Neg 37 ( 86%)

การอบรมวิธีปฏิบัติงาน (Training) จนท.จะต้องได้รับการอบรมและฝึกฝนวิธีปฏิบัติงานนี้ ก่อนที่จะเริ่มโครงการใหม่ จนท.จะต้องพิจารณาปรับปรุงวิธีการปฏิบัตินี้ให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของโครงการเป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จนท.จะได้รับ SOP ที่จะต้องปฏิบัติตาม การอบรมและฝึกฝนวิธีปฏิบัติงานนี้จะต้องมีการจดบันทึกและตรวจสอบได้ จนท.ที่เข้ามารับผิดชอบงานใหม่จะต้องผ่านการอบรมและฝึกฝนวิธีปฏิบัติงานนี้ภายใน 60 วันนับจากวันที่รับหน้าที่ หากมีการแก้ไขและรับรองวิธีปฏิบัติงานนี้ จะต้องทำการฝึกอบรมวิธีการปฏิบัติงานวิธีใหม่แก่จนท.ภายใน 60 วัน

Thank You Kumagaya ,Saitama