การเขียนรูปทรงเรขาคณิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
Advertisements

ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
ไวยกรณ์ไม่พึงบริบท CONTEXT-FREE GRAMMARS
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
บรรจุภัณฑ์อาหารเบื้องต้น
State Table ตารางสถานะ
A Classical Apriori Algorithm for Mining Association Rules
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
Basic 2D & Dimensions Week 2
จงคำนวณหา y-coordinate ของจุด Centroid ของพื้นที่ดังรูป
School of Information Communication Technology,
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
Euclidean’s Geomery.
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
เลขยกกำลัง พิจารณาข้อความต่อไปนี้ a x a = a 2 a x a x a = a 3 a x a x a x a = a 4.
บทกลับของทฤษฎีพิทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
หน่วยที่ 6 กราฟ (Graphs)
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
รูปสามเหลี่ยมคล้ายกัน (ง่าย ๆ)
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
Nakhonsawan school create by rawat saiyud
Stack Sanchai Yeewiyom
พัฒนาการความคิดทางคณิตศาสตร์
Composite Bodies.
MATRIX จัดทำโดย น.ส. ปิยะนุช เจริญพืช เลขที่ 9
แนวทางการจัดการเรียนการสอน (Pedagogy)
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
กระบวนการปรับบรรทัดฐาน Normalization Process
นางสาวเพ็ญศรี ท่องวิถี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
ลำดับ A B C D CD AB.
สมบัติเชิงกลของสสาร Mechanical Property of Matter
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
รพ.บัวเชด อ.บัวเชด จ.สุรินทร์
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
ติว ม. 6 วันที่ 15 ก.ค 2558.
บทที่ 2 การวัด.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การเขียนภาพร่าง Free hand Sketching สัปดาห์ที่ 1-3 สัปดาห์ที่ 2.
บทที่ 6 : อัตราส่วนตรีโกณมิติ
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
GEO1102 ภูมิศาสตร์มนุษย์ หัวข้อการเรียน (5)
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
Decision: Multi Selection (if-else-if, switch)
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
Determine the moment about point A caused by the 120 kN
จารย์เวิน.
เส้นขนาน.
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนรูปทรงเรขาคณิต สัปดาห์ที่ 1-2 สัปดาห์ที่ 2

Geometrical Construction เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 1 Geometrical Construction ใช้หลักการทางเรขาคณิตแบ่งครึ่งเส้นตรงและส่วนโค้ง ใช้หลักการทางเรขาคณิตเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น ใช้หลักการทางเรขาคณิตสร้างเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นโค้ง 2 เส้น แบบสัมผัสนอกและสัมผัสใน ใช้หลักการทางเรขาคณิตสร้างเส้นตรงสัมผัสกับวงกลม 2 วงที่กำหนดให้ ใช้หลักการทางเรขาคณิตสร้างรูปทรงหกเหลี่ยมให้อยู่ภายในวงกลม ใช้หลักการทางเรขาคณิตสร้างวงรีโดยใช้วงเวียน

วัตถุประสงค์สัปดาห์ที่ 1 เพื่อฝึกการใช้เครื่องมือพื้นฐาน เพื่อฝึกฝนการสร้างรูปทรงเรขาคณิต โดยใช้เครื่องมือเขียนแบบ

Geometrical Construction ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับเส้นตรง (a) เส้นตรงขนานกัน (b) เส้นตรงตั้งฉากกัน (c) เส้นตรงตัดกัน

Geometrical Construction ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับเส้นตรง การสร้างเส้นขนานกันด้วยวงเวียน โจทย์ Step 2 : ลากเส้นสัมผัสส่วนโค้ง GH จะได้เส้นขนานกับเส้น AB Step 1 : ลากเส้นตั้งฉาก EG และ FH แล้ว สร้างเส้นโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับ XY ดังรูป

การสร้างเส้นขนานกันด้วยไม้ฉาก Geometrical Construction ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับเส้นตรง การสร้างเส้นขนานกันด้วยไม้ฉาก โจทย์ Step 1 : ลากเส้นตั้งฉาก EG แล้วสร้างเส้นโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับ XY ดังรูป Step 2 : ใช้ไม้ฉาก 45 และ 30-60 ลากเส้นสัมผัสส่วนโค้ง GH จะได้เส้นขนานกับเส้น AB

การสร้างส่วนโค้งสัมผัสกับเส้นตรง Step 2 : ใช้วงเวียนลากส่วนโค้งดังรูป Geometrical Construction ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับส่วนโค้ง การสัมผัสกันของเส้นตรงและส่วนโค้ง การสร้างส่วนโค้งสัมผัสกับเส้นตรง Step 2 : ใช้วงเวียนลากส่วนโค้งดังรูป Step 1 : จากเส้นตรง AB ลากเส้นตั้งฉากจากจุด T ยาวเท่ากับรัศมีของส่วนโค้ง

การสัมผัสกันระหว่างส่วนโค้งกับส่วนโค้งทำให้เกิดจุดสัมผัส Geometrical Construction ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับส่วนโค้ง การสัมผัสกันระหว่างส่วนโค้งกับส่วนโค้งทำให้เกิดจุดสัมผัส

Geometrical Construction การแบ่งครึ่งเส้นตรงและส่วนโค้ง

Geometrical Construction การแบ่งครึ่งเส้นตรงและส่วนโค้ง วิธีที่ 1 ใช้วงเวียน Step 3 เส้นโค้งทั้งสองจะตัดกันจุด C และ D แล้วใช้ไม้บรรทัดลากเชื่อมจุดทั้งสอง จะได้เส้นตรง CD ที่แบ่งครึ่งเส้นตรง AB ดังรูป Step 1 กางวงเวียนให้มากกว่าครึ่งหนึ่งของความยาวเส้นตรง AB Step 2 ใช้ A และ B เป็นจุดศูนย์กลางส่วนโค้ง ดังรูป

Geometrical Construction การแบ่งครึ่งเส้นตรงและส่วนโค้ง วิธีที่ 2 ใช้ไม้ฉาก Step 1 ลากเส้นจากจุด C และ D ด้วยมุมที่เท่ากัน โดยใช้ไม้ฉาก Step 2 ลากเส้นตั้งฉากจากจุดตัดของเส้นตรงทั้งสองกับเส้นตรง AB จะได้เส้นแบ่งครึ่งเส้นตรง AB ดังรูป

Step 1 ลากเส้น BC ทำมุมใดๆ กับเส้นตรง AB Geometrical Construction การแบ่งครึ่งเส้นตรงออกเป็น n ส่วน วิธีที่ 1 ใช้วงเวียน Step 2 เขียนส่วนโค้งรัศมี R เริ่มต้นจาก B ตัดกับเส้นตรง BC ออกเป็น n ส่วน เช่น n = 5 ดังรูป Step 3 ลากเส้นเชื่อมระหว่างจุดตัดที่ 5 กับจุด A แล้วลากเส้นจากจุดอื่นๆ ไปหาเส้นตรง AB โดยให้เส้นขนานไปกับเส้น A-5 Step 1 ลากเส้น BC ทำมุมใดๆ กับเส้นตรง AB

Geometrical Construction วิธีที่ 2 ใช้ไม้บรรทัด โจทย์ Step 4 ลากเส้นจากจุดแบ่งระยะไปยังเส้นตรง MN ให้ขนานกับเส้นตรง ON ดังรูป Step 2 วางไม้บรรทัดทาบลงบนเส้นตรง OM แล้วแบ่งระยะให้เท่ากันออกเป็น n ส่วน Step 3 ลากเส้นจากจุด O ไปยังจุด N Step 1 ลากเส้นตรง OM ทำมุมใดๆ กับเส้นตรง MN

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น แบบที่ 1 การเขียนส่วนโค้งที่เส้นตรง 2 เส้นตั้งฉากกัน โจทย์ Step 2 จากจุด A และ B สร้างเส้นโค้งรัศมี R มาตัดกัน Step 3 จากจุดตัด C ใช้เป็นจุดศูนย์กลางแล้วเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นตรงทั้งสอง Step 1 วาดเส้นโค้งรัศมี R ด้วยวงเวียนตัดกับเส้น AB

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น แบบที่ 2 การเขียนส่วนโค้งที่เส้นตรง 2 เส้นทำมุมแหลม โจทย์ Step 3 ใช้วงเวียนวาดเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นตรงทั้งสองเส้นรัศมีเท่ากับ CB หรือ CA Step 2 ลากเส้นตั้งฉากจากจุดตัด C ไปยังเส้นตรงทั้งสอง Step 1 ลากเส้นขนานที่อยู่ห่างจากเส้นตรงทั้งสองด้านเท่ากับ R (รัศมี)

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น แบบที่ 3 การเขียนส่วนโค้งที่เส้นตรง 2 เส้นทำมุมป้าน โจทย์ Step 3 ใช้วงเวียนวาดเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นตรงทั้งสองเส้นรัศมีเท่ากับ CB หรือ CA Step 2 ลากเส้นตั้งฉากจากจุดตัด C ไปยังเส้นตรงทั้งสอง Step 1 ลากเส้นขนานที่อยู่ห่างจากเส้นตรงทั้งสองด้านเท่ากับ R (รัศมี)

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น ตัวอย่างของชิ้นงานที่มีส่วนโค้งสัมผัสกับเส้นตรงสองเส้น

Geometrical Construction การสร้างเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นโค้ง 2 เส้น แบบสัมผัสนอก Step 2 จากจุดศูนย์กลาง A และ B ลากส่วนโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับความยาว R1 + R และ R2 + R ตามลำดับ จะได้จุดตัด P ดังรูป แล้วลากเส้นโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับ R จะได้เส้นโค้งที่สัมผัสกับเส้นโค้ง A และ B ดังรูป โจทย์ Step 1 กำหนดให้ R = 2 เป็นรัศมีของเส้นโค้งที่สัมผัสกับส่วนโค้งทั้งสองแบบสัมผัสนอก

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นโค้ง 2 เส้นแบบสัมผัสนอก ตัวอย่างของชิ้นงาน

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การสร้างเส้นโค้งสัมผัสกับเส้นโค้ง 2 เส้น แบบสัมผัสใน โจทย์ Step 2 จากจุด C ลากเส้นโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับ c จะได้เส้นโค้งที่สัมผัสกับเส้นโค้ง A และ B ดังรูป Step 1 จากจุดศูนย์กลาง A และ B ลากส่วนโค้งด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับความยาว c-a และ c-b ตามลำดับ จะได้จุดตัด C ดังรูป

Step 3 ลากเส้นเชื่อม BC ไปตัดกับวงกลมที่จุด D การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การสร้างเส้นตรงสัมผัสกับวงกลม 2 วงที่กำหนดให้ แบบที่ 1 ใช้วงเวียน Step 3 ลากเส้นเชื่อม BC ไปตัดกับวงกลมที่จุด D Step 2 แบ่งเส้นตรง AB เป็น 2 ส่วนเท่าๆ กัน จะได้จุดตัด X แล้วลากครึ่งวงกลม AB ตัดกับวงกลม R – r ที่จุด C ดังรูป Step 1 สร้างวงกลมรัศมี R – r โดยใช้ B เป็นจุดศูนย์กลาง Step 4 ลากเส้น AE ให้ขนานกับเส้นตรง BD แล้วลากเส้นเชื่อมจุด E และ D ซึ่งจะสัมผัสกับวงกลมทั้งสอง

Step 4 ลากเส้นตรงเชื่อมแต่ละจุดจะได้รูป 6 เหลี่ยมมีวงกลมล้อมรอบดังรูป การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การสร้างรูปทรงหกเหลี่ยม แบบที่ 1 รูปหกเหลี่ยมภายในวงกลม (Inscribed Hexagon) โดยใช้วงเวียน Step 3 ใช้รัศมีเท่ากับ AB วาดเส้นโค้งไปจาก A และ B ไปตัดวงกลมจะได้จุด C, D, E และ F Step 1 วาดเส้นโค้งรัศมีเท่ากับ AB โดยใช้จุด A และ B เป็นจุดศูนย์กลาง และเส้นโค้งตัดกันได้จุด O ดังรูป Step 2 วาดวงกลมด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับ OA โดยใช้ O เป็นจุดศูนย์กลาง Step 4 ลากเส้นตรงเชื่อมแต่ละจุดจะได้รูป 6 เหลี่ยมมีวงกลมล้อมรอบดังรูป

Step 3 ลากเส้นตรงเชื่อมจุดต่าง การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การสร้างรูปทรงหกเหลี่ยม แบบที่ 2 รูปหกเหลี่ยมภายในวงกลม (Inscribed Hexagon) โดยใช้ไม้ฉาก Step 3 ลากเส้นตรงเชื่อมจุดต่าง Step 2 ลากเส้นตรงทำมุมหก 60 และ 120องศา ผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมจะได้จุดตัด D, E, F, G Step 1 วาดวงกลมด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับครึ่งหนึ่งของด้านกว้างที่สุดของรูปหกเหลี่ยม

Geometrical Construction การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง 2 เส้น Geometrical Construction การสร้างรูปทรงหกเหลี่ยม แบบที่ 3 รูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม (Circumscribed Hexagon) โดยใช้ไม้ฉาก Step 3 ลากเส้นตรงเชื่อมจุดต่าง Step 1 วาดวงกลมด้วยวงเวียนรัศมีเท่ากับครึ่งหนึ่งของด้านแคบที่สุดของรูปหกเหลี่ยมลากเส้นรัศมีแบ่งวงกลมออกเป็น 6 ส่วนเท่าๆ กัน Step 2 ใช้ไม้ฉาก 30 – 60 องศา ลากเส้นสัมผัสกับวงกลม แต่ละส่วนของวงกลม

Geometrical Construction การสร้างวงรีด้วยวิธีสี่เหลี่ยมด้านขนาน Step 4 ลากเส้นโค้งรัศมีเท่ากับความยาวเส้นตรง EA โดยใช้จุด G และ E เป็นจุดศูนย์กลาง Step 5 ลากเส้นโค้งรัศมีเท่ากับ r โดยใช้ F และ H เป็นจุดศูนย์กลาง จะได้วงรีดังรูป Step 3 ลากเส้นเชื่อมจุด E กับจุด A และ D จะได้จุดตัด F และ H ดังรูป Step 2 ลากเส้นทแยงมุม และแบ่งครึ่งด้านทั้งสี่ของสี่เหลี่ยมด้านขนานจุด A, B, C และ D Step 1 วาดสี่เหลี่ยมด้านขนานขนาดเท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม

Geometrical Construction การสร้างวงรีด้วยวิธีสี่เหลี่ยมด้านขนาน

ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning จบสัปดาห์ที่ 1 อย่าลืมทำการบ้าน ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning