เรื่อง นกอพยพ ชื่อผู้จัดทำ นางสาววิริยา ลีลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
แฟ้มสะสม ผลงาน ด. ช. สุรศักดิ์ เถาสุรรณ ชั้มมัธยมศึกษาปี่ที่ 2 เลขที่ 12.
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ประวัติความเป็นมา ธงประจำชาติ ประเทศอาเซีย แบบทดสอบ ผู้จัดทำ.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
นายพิเชษฐ์ ปาณะ พงศ์ โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายคเชนทร์ชิต เมี้ยนละม้าย หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นางสุเพ็ญ หวัง ธรรมมั่ง หัวหน้าฝ่าย บริหารงานทั่วไป.
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
เครื่องเบญจรงค์.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
สถานการณ์ : ความหลากหลายทางชีวภาพ
วิชาทฤษฎีสี รหัสวิชา FAD1104
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานฯ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
. ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
เรื่อง การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
ขดลวดพยุงสายยาง.
ศาสนาเชน Jainism.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ปฏิบัติการร่วมป้องกันและบรรเทาอุทกภัยภาคใต้ ประจำวันที่ 5 ตุลาคม 2557 ( เวลา น. )
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง นกอพยพ ชื่อผู้จัดทำ นางสาววิริยา ลีลา ชื่อผู้จัดทำ นางสาววิริยา ลีลา โรงเรียน เพิ่มพูนพณิชยการเทคโนโลยี- กาฬสินธุ์ อำเภอ ยางตลาด จังหวัด กาฬสินธุ์

ก สาระสำคัญ นกมีการปรับตัว ทั้งโครงสร้างร่างกาย และ สภาพทางกายภาพ ให้เหมาะ กับการดำรงชีวิตในอากาศ ทั้งขนปีก หาง กระดูก ปอด และ โพรงอากาศในเนื้อเยื่อ รวมทั้งระบบเผาผลาญอาหารให้เกิดพลังงาน เพื่อการดำรงชีพอย่างน่าประหลาด การปรับตัวนี้เอง ทำให้นกสามารถแสวงหาสถานที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะแก่ การดำรงชีพ ของมันในแต่ละช่วงเวลาของแต่ละฤดูกาล ในแต่ละปี ด้วยคุณสมบัติ ดังกล่าว ทำให้เกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติที่ เราเรียกกันว่า การอพยพ ย้ายถิ่น ของนกที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี สม่ำเสมอ ในแต่ละฤดูกาลที่ผันเปลี่ยนไป การอพยพเกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า จากพื้นที่แห่งหนึ่งไปยังพื้นที่อีกแห่งหนึ่ง แล้วเวียนกลับไปมาเช่นนี้ ชั่วนาตาปี

ข สารบัญ สาระสำคัญ ก นกอพยพ 1 นกยางโทนน้อย 2 นกยางโทนใหญ่ 7 นกยางเปีย 12 นกยางควาย 17 นกเป็ดแดง 23 หนังสืออ้างอิง 27 ประวัติผู้จัดทำ 28

1 นกอพยพ นกอพยพ จะเข้ามาในช่วงฤดูหนาว ได้แก่ นกยางโทนน้อย นกยางโทนใหญ่ นกยางควาย นกยางเปีย นกเป็ดแดง เป็นต้น เมื่อถึงฤดูร้อนจะอพยพกลับถิ่น

นกยางโทนน้อย Intermediate Egret(Plumed Egret) 2 นกยางโทนน้อย Intermediate Egret(Plumed Egret) ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Egretta intermedia ลักษณะทั่วไป      นกยางโทนน้อยมีรูปร่างคล้ายนกยางเปียและนกยางโทนใหญ่ เมื่อเทียบกันแล้วจะมีขนาดใหญ่กว่านกยางเปีย แต่เล็กกว่านกยางโทนใหญ่ ขนาดลำตัวประมาณ 70 เซนติเมตร ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ นกยางโทนน้อยจะมีขนสร้อยที่หน้าอก ซึ่งนกยางโทนใหญ่ไม่มี ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายกัน ขนตามลำตัวสีขาว คอยาว ปากยาวแหลมสีเหลือง ขาและนิ้วเท้าดำ

นกยางโทนน้อย Intermediate Egret(Plumed Egret) 3 นกยางโทนน้อย Intermediate Egret(Plumed Egret) ถิ่นอาศัย, อาหาร      พบในแอฟริกา อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี จีน ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย พม่า ไทยลาว เขมร เวียดนาม สำหรับประเทศไทยพบเกือบทุกภาค เป็นนกอพยพมาในฤดูหนาว      อาหารได้แก่ ลูกกุ้ง ลูกปลา กบ สัตว์เลื้อยคลาน หอย แมลง

นกยางโทนน้อย Intermediate Egret(Plumed Egret) 4 นกยางโทนน้อย Intermediate Egret(Plumed Egret) พฤติกรรม      ชอบหากินอยู่ตามทุ่งนา คลอง หนอง บึง ตามป่าโกงกางริมทะเล ซึ่งในเวลาน้ำขึ้นจะเห็นเป็นกลุ่มใหญ่ๆ อยู่ในน้ำตื้น บางทีหากินรวมกับฝูงควาย ชอบหากินรวมอยู่ด้วยกันเป็นกลุ่มใหญ่เดินท่อม ๆ ก้าวขาช้า ๆ มองหาเหยื่อสอดส่ายไปมา เมื่อพบเหยื่อจะยืดคอใช้ปากจิกเหยื่อได้อย่างรวดเร็ว ตอนเย็นบินกลับรังเป็นกลุ่ม ๆ ลักษณะบินเหมือนนกยางทั่วไป     

นกยางโทนน้อย Intermediate Egret(Plumed Egret) 5 นกยางโทนน้อย Intermediate Egret(Plumed Egret) การสืบพันธุ์      นกยางโทนน้อยเริ่มผสมพันธุ์ในเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน วางไข่ ครั้งละ 3-5 ฟอง แต่ยังไม่มีรายงานการทำรังวางไข่ในประเทศไทย

นกยางโทนน้อย Intermediate Egret(Plumed Egret) 6 นกยางโทนน้อย Intermediate Egret(Plumed Egret) สถานภาพปัจจุบัน      เป็นนกอพยพที่เข้ามาในประเทศไทยช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535

นกยางโทนใหญ่ Great Egret(Large Egret) 7 นกยางโทนใหญ่ Great Egret(Large Egret) ชื่อทางวิทยาศาสตร์:  Egretta alba ลักษณะทั่วไป           นกยางโทนใหญ่เป็นนกขนาดใหญ่มีขนาดความยาวลำตัวประมาณ 90 เซนติเมตร สีขาวตลอดตัว คอยาว ปากยาวแหลมสีเหลือง ตาเหลือง ไม่มีเปีย ขาและนิ้วเท้าดำ ในฤดูผสมพันธุ์มีขนประดับเป็นเส้นยาว ๆ อยู่บนหลังและยาวเลยหางออกไปเล็กน้อย นกยางโทนทั้งตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายกัน ในฤดูผสมพันธ์ปากจะมีสีดำ

นกยางโทนใหญ่ Great Egret(Large Egret) 8 นกยางโทนใหญ่ Great Egret(Large Egret) ถิ่นอาศัย, อาหาร     นกยางโทนใหญ่มีถิ่นกำเนิดในอินเดีย จีนไหหลำ ไต้หวัน หมู่เกาะ อันดามัน ซุนดา ฟิลิปปินส์ ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย สำหรับประเทศไทยมีทุกภาค ตามหนองคลองบึงที่น้ำท่วมถึง และตามท้องนาในฤดูฝน เป็นนกประจำถิ่นที่พบได้บ่อยและมีบางส่วนเป็นนกอพยพเข้ามาในช่วงฤดูหนาว      นกยางโทนใหญ่กินปลา ปู กุ้ง หอย กบ เขียด แมลง และสัตว์เล็ก ๆ อื่น ๆ เช่น ลูกงู

นกยางโทนใหญ่ Great Egret(Large Egret) 9 นกยางโทนใหญ่ Great Egret(Large Egret) พฤติกรรม     นกยางโทนชอบหากินตามที่ราบบริเวณท้องนาที่น้ำท่วมถึง หนองบึง ทะเลสาบ และตามป่าโกงกาง บางครั้งหากินปะปนกับนกยางขาวชนิดอื่นเหมือนกัน มักเดินหากินไปเรื่อย ๆ ไม่ค่อยอยู่นิ่ง หาอาหารตอนเช้าตรู่และพลบค่ำ เวลาหาเหยื่อจะยืนนิ่งอยู่ริมน้ำ คอหด หรืออาจลุยน้ำทำหัวโยกขึ้นลงเป็นจังหวะ เมื่อเหยื่อเข้าใกล้จะยืดคอจ้องไปที่เหยื่อ เมื่อได้จังหวะก็จิกทันที เวลาบินขยับปีกช้า ๆ เป็นจังหวะ คอหดเข้ามา และขาเหยียดตรงไปข้างหลัง

นกยางโทนใหญ่ Great Egret(Large Egret) 10 นกยางโทนใหญ่ Great Egret(Large Egret) การสืบพันธุ์      นกยางโทนใหญ่ผสมพันธุ์ในฤดูฝนและอยู่เป็นฝูงชอบทำรังรวมกันอยู่บนต้นไม้ต้นเดียวกันกับนกยางชนิดอื่น รังทำด้วยกิ่งไม้แห้งๆ เล็กๆ ขัดสานกัน มีแอ่งตรงกลางสำหรับ วางไข่ มักทำรังตามยอดไผ่ริมไร่หรือใกล้สวน บางครั้งทำรังบนต้นลำภูชายทะเล ทั้งตัวผู้และตัวเมียช่วยกันทำรัง กกไข่ เลี้ยงลูก วางไข่คราวละ 3-4 ฟอง ระยะฟักไข่ 25-26 วัน

นกยางโทนใหญ่ Great Egret(Large Egret) 11 นกยางโทนใหญ่ Great Egret(Large Egret) สถานภาพปัจจุบัน      เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535

นกยางเปีย little Egret 12 นกยางเปีย little Egret ชื่อทางวิทยาศาสตร์ :  Egretta garzetta ลักษณะทั่วไป           เป็นนกขนาดกลาง ความยาวลำตัวประมาณ 60 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน สีขาวตลอดตัวตาดำ ปากดำ ขาดำ นิ้วเท้าเหลือง แต่เล็บดำ ตัวเล็กกว่านกยางโทนมาก ในฤดูผสมพันธุ์จะมีขนยาวห้อยจากท้ายทอยคล้ายหางเปีย 2 เส้น ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จึงได้ชื่อว่า นกยางเปีย

นกยางเปีย little Egret 13 นกยางเปีย little Egret ถิ่นอาศัย, อาหาร     พบในอินเดีย หมู่เกาะอันดามัน เกาะนิโคบาร์ จีน ไหหลำ ไต้หวัน ซุนดาส์ กัมพูชา ลาว เวียดนาม ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ประเทศไทยพบว่าเป็นนกประจำถิ่นภาคกลางและจะอพยพไปทั่วทุกภาค      นกยางเปียกินปลา กบ เขียด กุ้ง หอย แมลงต่าง ๆ สัตว์เลื้อยคลานเล็ก ๆ

นกยางเปีย little Egret 14 นกยางเปีย little Egret พฤติกรรม     ชอบอยู่เป็นฝูงตามทุ่งนา ทุ่งหญ้า ชายเลน บริเวณที่น้ำท่วมถึง ตามบริเวณริมหนองบึง สามารถเกาะกิ่งไม้ได้ และบินได้ดี ขณะบินขาเหยียดตรงไปข้างหลัง คองอพับเป็นรูปตัว S มักหากินรวมกันเป็นฝูงรวมกับนกชนิดอื่นๆ เวลาหากินในน้ำจะยืนนิ่งในน้ำที่ลึกไม่เกินแข้ง เมื่อพบเหยื่อก็จะใช้ปากงับเหยื่ออย่างรวดเร็ว หรืออาจใช้วิธีเดินตามหรือเกาะหลังวัว ควาย เมื่อแมลงบินขึ้นมาก็จะใช้ปากจิกกิน

นกยางเปีย little Egret 15 นกยางเปีย little Egret การสืบพันธุ์      นกยางเปียเริ่มผสมพันธุ์ประมาณต้นฝน ก่อนสร้างรังจะเกี้ยวพาราสีกัน แล้วนกตัวผู้จะนำวัสดุพวกกิ่งไม้มาส่งให้ตัวเมียแล้วช่วยกันสร้างรังบนกิ่งไม้รวมกับนกอีกหลายชนิด วางไข่ครั้งละ 4-5 ฟอง ไข่มีสีเขียวน้ำทะเล ทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันฟักไข่ตั้งแต่ออกไข่ฟองแรก ใช้เวลาฟักประมาณ 25 - 27 วัน

นกยางเปีย little Egret 16 นกยางเปีย little Egret สถานภาพปัจจุบัน      เป็นนกประจำถิ่น และมีบางส่วนเป็นนกอพยพมาช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ พบบ่อยและมีทั่วทุกภาค จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535

นกยางควาย Cattle Egret 17 นกยางควาย Cattle Egret ชื่อทางวิทยาศาสตร์ :  Bubulcus ibis ลักษณะทั่วไป           ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน ขนทั่วตัวสีขาว แต่ในฤดูผสมพันธุ์จะมีขนประดับเป็นเส้นยาว ๆ ที่หัว คอ และหลังเป็นสีเหลืองส้ม พ้นฤดูผสมพันธุ์ขนประดับดังกล่าวจะผลัดออกหมด นัยน์ตาและปากเป็นสีเหลือง แต่รอบตาสีออกเขียวอ่อน เท้าสีดำ

นกยางควาย Cattle Egret 18 นกยางควาย Cattle Egret ถิ่นอาศัย, อาหาร     พบในแอฟริกา เอเซีย สำหรับประเทศไทยพบทั่วไปทุกภาค      อาหารได้แก่ ตั๊กแตน แมลงต่าง ๆ ปลา รวมทั้งกบ

นกยางควาย Cattle Egret 19 นกยางควาย Cattle Egret พฤติกรรม     ชอบอยู่ตามริมห้วย หนอง คลอง บึง หรือตามพื้นที่น้ำท่วมถึง ซึ่งมีหญ้าอุดมสมบูรณ์และวัวควายชอบมากิน ชอบอยู่เป็นฝูงหากินใกล้ๆ กับวัวควายที่กำลังเล็มหญ้า

นกยางควาย Cattle Egret 20 นกยางควาย Cattle Egret การสืบพันธุ์      เป็นนกอพยพเข้ามาในช่วงนอกฤดูผสมพันธ์ นกยางควายเริ่มผสมพันธุ์ในเดือนเมษายน-กรกฎาคม วางไข่ ครั้งละ 4-5 ฟอง

นกยางควาย Cattle Egret 21 นกยางควาย Cattle Egret สถานภาพปัจจุบัน      เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535

นกเป็ดแดง Lesser Whistling-DuckLesser Treeduck 22 นกเป็ดแดง Lesser Whistling-DuckLesser Treeduck ชื่อทางวิทยาศาสตร์ :  Dendrocygna javanica ลักษณะทั่วไป           เป็นนกขนาดกลาง ลำตัวยาวประมาณ 40 - 43 เซนติเมตร ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายคลึงกัน ขนตามตัวและปีกมีสีน้ำตาลแดง บนกระหม่อมมีสีเข้มกว่าส่วนอื่น ขนตรงปลายปีกมีสีดำ ปากแบนกว้างสีเทาดำ คอยาว ปีกยาวปลายปีกแหลม

นกเป็ดแดง Lesser Whistling-DuckLesser Treeduck 23 นกเป็ดแดง Lesser Whistling-DuckLesser Treeduck ถิ่นอาศัย, อาหาร      พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีน ไต้หวัน อินเดีย และในประเทศไทยพบได้ทั่วไปทุกภาค      อาหารได้แก่ พืชน้ำ สัตว์น้ำจำพวก ปลา กบ ไส้เดือน

นกเป็ดแดง Lesser Whistling-DuckLesser Treeduck 24 นกเป็ดแดง Lesser Whistling-DuckLesser Treeduck พฤติกรรม      ตามปกติชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ตามแหล่งน้ำ เช่น บ่อ หนอง คลอง บึง อ่างเก็บน้ำ ทะเลสาบ บางทีเป็นฝูงมากกว่า 1,000 ตัว ปกติหากินตอนกลางคืน ส่วนตอนกลางวันจะว่ายน้ำ หรือพักผ่อนนอนหลับ ตามต้นไม้ชายน้ำ

นกเป็ดแดง Lesser Whistling-DuckLesser Treeduck 25 นกเป็ดแดง Lesser Whistling-DuckLesser Treeduck การสืบพันธุ์      ในฤดูผสมพันธุ์เป็ดแดงมักอยู่เป็นคู่ ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูฝน ทำรักตามกอกก ต้นอ้อ หรือหญ้าใกล้แหล่งน้ำ รังเป็นแบบง่ายๆ โดยใช้ใบพืชสร้างรัง แล้วใช้ขนท้องตัวเองรองกลางรัง วางไข่คราวละ 9 - 13 ฟอง ไข่สีขาวไม่มีลาย ใช้เวลาฟัก 29 - 31 วัน

นกเป็ดแดง Lesser Whistling-DuckLesser Treeduck 26 นกเป็ดแดง Lesser Whistling-DuckLesser Treeduck สถานภาพปัจจุบัน      เป็ดแดงเป็นทั้งนกประจำถิ่น และนกอพยพมาช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ พบบ่อยและปริมาณมากทั่วทุกภาค จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535

27 เอกสารอ้างอิง ข้อมูลจาก : : สถานีพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์ป่าลำปาว : rmutraining.ning.com : www.waghor.go.th : www.wanakorn.com : www.moohin.com : www.google.co.th

ผู้จัดทำ ชื่อ-สกุล นางสาววิริยา ลีลา ตำแหน่ง ครูผู้สอน 28 ผู้จัดทำ ชื่อ-สกุล นางสาววิริยา ลีลา ตำแหน่ง ครูผู้สอน หน่วยงาน โรงเรียนเพิ่มพูนพณิชยการเทคโนโลยีกาฬสินธุ์ โทรศัพท์ 089-4806623 e-Mail : wiriya.lee@hotmail.com