ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
คณะทำงานสาขามารดาและ ทารกแรกเกิด เขตสุขภาพที่ 12 (MCH Board)
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
ก้าวต่อไปในการดำเนินงานโครงการสำคัญ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
มาตรการ/กลวิธีสำคัญในการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : แม่ตายไม่เกิน 17 ต่อแสนประชากร
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด KPI: แม่เสียชีวิตจาก PPH PIH ร้อยละ 0 : เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ KPI: ความครอบคลุมวัคซีนพื้นฐานในกลุ่มเด็กอายุครบ 1 ปี ≥ ร้อยละ 90 MMR ≥ ร้อยละ 95 Situation / Baseline ปี 2560 มารดาตาย 21 ราย อัตรา 30.97 : แสน LB ปี 2561 มารดาตาย 25 ราย อัตรา 35.01: แสน LB เกิดจากสาเหตุทางตรง ร้อยละ 48.0 ทางอ้อมร้อยละ 44.0 ไม่ทราบสาเหตุร้อยละ 8.00 ความครอบคลุมวัคซีนพื้นฐาน ในกลุ่มเด็กอายุครบ 1 ปี DTP-HB3 ปี 2561 (1 ต.ค.60-ก.ย.61) คิดเป็นร้อยละ 84.21 MMR ร้อยละ 83.44 Strategy 1 พัฒนาคุณภาพบริการ 2 พัฒนาระบบการจัดการสุขภาพรายครอบครัว 3 พัฒนาระบบการควบคุมกำกับดูแลความเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ และการได้รับวัคซีนในเด็ก Key Activity 1.พัฒนากระบวนการคุณภาพด้านแม่และเด็ก(PNC) 3 จังหวัด ยะลา ปัตตานี นราธิวาส 2.พัฒนาระบบบริการ ANC คุณภาพ 1.ขึ้นทะเบียนเจ้าหน้าที่รายพื้นที่ / กลุ่มเป้าหมาย 2.พัฒนา Dash Board จากข้อมูล 43 แฟ้ม ในการ ติดตาม แม่ตั้งครรภ์เสี่ยงและการได้รับวัคซีนเด็กปฐมวัย 1. กำกับติดตาม คืนข้อมูล 2. เยี่ยมเสริมพลังและมอบ รางวัล Small Success ไตรมาส 1 1.สื่อสารแนวทางการดำเนินงานในระดับจังหวัด 2.แบ่งพื้นที่รับผิดชอบ 3.สำรวจกลุ่มเป้าหมาย 4.จังหวัดได้รับการประเมิน PNC 1 จังหวัด ไตรมาส 2 1.มี Dash Board ที่สามารถติดตาม แม่ตั้งครรภ์เสี่ยงและการได้รับวัคซีนใน เด็กปฐมวัย 2.มีจังหวัดได้รับการประเมิน PNC 2 จังหวัด ไตรมาส 3 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงครอบคลุม ร้อยละ 100 2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงได้รับการส่งต่อและรักษา ร้อยละ 100 3.ความครอบคลุมวัคซีนพื้นฐานในกลุ่มเด็กอายุ ครบ 1 ปี และ MMR เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 4.เยี่ยมเสริมพลัง และมอบรางวัล ไตรมาส 4 1.จังหวัดผ่านการประเมินรับรอง PNC 3 จังหวัด 2.อัตราแม่เสียชีวิตจาก PPH PIH ลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 20 3.ความครอบคลุมวัคซีนพื้นฐานในกลุ่มเด็กอายุ ครบ 1 ปี ≥ ร้อยละ 90 MMR ≥ ร้อยละ 95

ลดมารดาตายและเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ เป้าหมาย กระบวนการดำเนินงาน ผลลัพธ์การดำเนินงาน 1.ไม่มีแม่เสียชีวิตจาก PPH,PIH 2.ความครอบคลุมวัคซีนพื้นฐานในกลุ่มเด็กอายุครบ 1 ปี≥ร้อยละ 90,MMR≥ร้อยละ 90 พัฒนากระบวนการคุณภาพด้านแม่และเด็ก(PNC) 3 จังหวัด ปัตตานี ยะลา นราธิวาส จังหวัดได้รับการประเมิน(PNC)จาก สรพ. 2 จังหวัด (ปัตตานี นราธิวาส) พัฒนาระบบการจัดการสุขภาพรายครอบครัว โดย 1.การขึ้นทะเบียนเจ้าหน้าที่รายพื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย 2. พัฒนาDash Board จากข้อมูล 43 แฟ้มในการติดตามแม่ตั้งครรภ์เสี่ยงและการได้รับวัคซีนเด็กปฐมวัย ประชุมผู้เกี่ยวข้องจำนวน 1 ครั้ง(17 ตค.61)เพื่อจัดทำแผนขาขึ้นงบ PPA จำนวน 2 ล้านบาท ปรับปรุงคณะอนุกรรมการPP&Pเขตสุขภาพที่ 12 ตามคำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่3922/2651 ลงวันที่ 13 พย.2561 และกำหนดจัดประชุมคณะอนุกรรมการ สื่อสารแนวทางการดำเนินงานในวันที่ 21 ธันวาคม 2561 จัดDead Case Conference 1 ครั้ง วันที่ 7 พย.61 ปี2562(ตค.- 10ธค61) : 9 ราย (ตรัง พัทลุง สตูล ยะลา จังหวัดละ 1 ราย ปัตตานี 2 ราย นราธิวาส 3 ราย) สาเหตุจาก Direct cause 4 ราย Indirect cause 3 ราย Unknown cause 2 ราย (ลดลงจากปี61 โดยในช่วงระยะเวลาเดียวกัน มีแม่ตาย14ราย)

เปรียบเทียบจำนวนมารดาตาย แยกตาม รายเดือน เขต 12 ปี 60-62 กราฟแสดงอัตราส่วนการตายมารดา ปีงบประมาณ 2562จำแนกรายจังหวัด (ต.ค.-10ธค.61) นราธิวาส 3 ราย ยะลา 1ราย ปัตตานี 2 ราย ตรัง พัทลุง 1 ราย จำนวน 9 ราย สงขลา สตูล 1ราย เปรียบเทียบจำนวนมารดาตาย แยกตาม รายเดือน เขต 12 ปี 60-62

Cause of maternal mortality (N=9 ) Unknown cause 2ราย 22.22% Direct cause Indirect cause สาเหตุมารดาตาย ปี 60 ถึง 20 สิงหาคม60 ทางตรง 14 ราย , ทางอ้อม 6 ราย รวม 20 ราย เป็นสาเหตุทางตรง (Direct cause ) จำนวน 14 ราย จาก PPH ร้อยละ 23.80, Amniotic Embolism ร้อยละ14.28 ะ PIH ร้อยละ 19.04และจาก Abortion ร้อยละ 14.28 ส่วนสาเหตุทางอ้อม (Indirect cause ) จำนวน 6 ราย จาก Pneumonia ร้อยละ 19.52 Sepsis Shock ร้อยละ 4.76 อื่น ๆ Barian Tumor ร้อยละ 4.76 Ca Colon ร้อยละ 4.76 Case สุดท้าย ฝากท้องที่ไทย แต่ตั้งใจคลอดมาเลย์ น้ำเดิน เร่งคลอด ตายที่รพ.กัวลาลัมเปอร์ ไม่ได้สรุปสาเหตุ ร้อยละ 4.76 Unknown cause 5 แหล่งข้อมูล : ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา ณ วันที่ 10 ธันวาคม 61