Java Translation Object and Class ในมุมมองคอมพิวเตอร์ Objects หรือ Instances หมายถึงวัตถุที่กำเนิดตัวตนจริงๆจากต้นแบบที่กำหนดโดยคลาส Object.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

Lab Part Nattee Niparnan
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
บทที่ 4 Method (1).
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 มิถุนายน 2550 Method of Class มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Handling Exceptions & database
Object Oriented Programming Handling Exceptions
บทที่ 3 Class and Object (2).
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
TECH30201 Object-Oriented Programming
Array ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. The concept of array อาเรย์ : กลุ่มของข้อมูลที่มีชนิดเดียวกันและถูก จัดเก็บเรียงลำดับต่อเนื่องกัน ตัวแปร x สามารถจัดเก็บค่ามากกว่า.
Java Network Programming – Network Operating Systems and Protocols Choopan Rattanapoka.
JSP ติดต่อฐานข้อมูล.
Operator of String Data Type
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Chapter 10 Arrays Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
การออกแบบออโตมาตาจำกัดเชิงกำหนด ( DFA )
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
CD แผ่น ชื่อ File Program
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
1. ขนาดเท่า size จริง 2. เมื่อนักศึกษาออกแบบแล้วให้ส่งไฟล์ ที่เป็น Ai (Save เป็น version CS3 และไฟล์ jpg ที่ได้จาก Ai และเมื่อเสร็จสมบูรณ์แล้วทุก ๆ มุม.
1 XML & ASP.NET Nipat J Display XML data on the web Nipat J.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
ระบบ ฐานข้อมูล (Database). ระบบฐานข้อมูล หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันที่ จะนำมาใช้ในระบบต่าง ๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูล.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 1 MIT App Inventor เรียนรู้การใช้งานเบื้องต้น ทดสอบการเชื่อมต่อโปรแกรมกับโทรศัพท์มือถือ
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด โครงสร้างโปรแกรม public class HelloWorld { public static void main(String[] args) { System.out.println(“Hello World”);
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Object and classes.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การติดต่อกับฐานข้อมูล(MySQL)
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
Handling Exceptions & database
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
Android Programming Multimedia Prawit Pimpisan Computer Science RERU.
การเขียน App สำหรับ Android smartphone
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
โครงสร้างภาษา C Arduino
ตัวแปรและการคำนวณ Variables and Calculation
Creating And Using Exceptions
Object-Oriented Programming Paradigm
Method and Encapsulation
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Inheritance and Encapsulation
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
Introduction to Java Chapter 1.
Week 5 C Programming.
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
C#: Windows Forms App.
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
Computer Game Programming
Chapter 3 : Array.
File.
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Java Translation

Object and Class ในมุมมองคอมพิวเตอร์ Objects หรือ Instances หมายถึงวัตถุที่กำเนิดตัวตนจริงๆจากต้นแบบที่กำหนดโดยคลาส Object and Class ในมุมมอง Real World เป็นเช่นใดหนอ วานบอกข้าที??

Object Oriented Concept

การสร้าง Objects

คำสั่งสร้าง Object จากคลาส ClassName classVariable = new ClassName(); Class catGame{ String flurcolor; void maew(){ System.out.println(“maew maew”); } CatGame srisawat = new CatGame();

new operator ใช้สำหรับสร้าง object ใหม่ให้เกิดขึ้นในหน่วยความจำ

Class Dog // Class Declaration class Dog { // Instance Variables String breed; String size; int age; String color; // method 1 public String getInfo() { return ("Breed is: "+breed+" Size is:"+size+" Age is:"+age+" color is: "+color); }

DogApp public class DogApp{ public static void main(String[] args) { Dog maltese = new Dog(); maltese.breed="Maltese"; maltese.size="Small"; maltese.age=2; maltese.color="white"; System.out.println(maltese.getInfo()); }

สร้างobject คือ mastiff , chowchow Lab2 –create dog object สร้างobject คือ mastiff , chowchow พิมพ์รายละเอียดของ object ที่สร้างขึ้นผ่าน getInfo()

Lab2 - Print address of dog object System.out.println(mastiff); System.out.println(chowchow); System.out.println(maltese);

Object ที่เกิดใน memory mastiff chowchow maltese

การเรียกใช้ออบเจ็กต์ properties behaviors

การเรียกใช้งานออบเจ็กต์ เรียกใช้ (r/w)สมาชิกที่เป็น properties / attribute / state เรียกใช้ (r/w) สมาชิกที่เป็น behaviors / actions / method เรียกใช้ผ่าน . (dot) ที่เติมหลังชื่อออบเจ็กต์ เช่น srisawat.flur = “white”; srisawat.maew();

lab3 Linklab3 –Box

คำสั่ง print() and println() เช่น ลองเขียน code ตามนี้

Lab4 – print(), println() ให้สร้างโปรแกรมพิมพ์หน้าจอดังนี้ *********** * *

การรับค่าจากคีย์บอร์ดด้วยคลาส Scanner ได้ทั้งตัวเลขและตัวอักษร ดังโปรแกรมตัวอย่างมีการรับค่าชื่อของผู้ซื้อเป็นตัวอักษร และจำนวนที่ซื้อเป็นตัวเลข ต้องมีการใช้คำสั่ง import java.util.Scanner; เพื่อระบุ package ที่อยู่ของคลาส Scanner เมื่อต้องการใช้คลาส Scanner ต้องสร้างออบเจ็กต์ก่อน ในที่นี้คือ scan คลาส Scanner มี method nextInt() สำหรับรับค่าตัวเลข Next() สำหรับรับค่าตัวอักษร

Lab5 ให้นิสิตเปิด netbeans แล้วสร้างคลาสชื่อ Example2 เขียนคำสั่งดังนี้ class Example2{ public static void main(String args[]) { System.out.println("Hello …"); } 2. เมื่อแก้ถูกแล้ว Run program แล้วตรวจดูว่ามีไฟล์ .class กี่ไฟล์ 3. ถ้าตัดคำว่า static ออก เกิดอะไรขึ้น ? 4. แก้ System.out.println("Hello…"); เป็น System.out.println("Hello…" + args[0]); 5. Click ขวาที่ชื่อ project เลือก properties จะได้รูป

6. ไปที่ run แล้วใส่ชื่อของแต่ละคนที่ช่อง arguments: 7 6. ไปที่ run แล้วใส่ชื่อของแต่ละคนที่ช่อง arguments: 7. กด run ให้บันทึกผลลัพธ์ 8. ท่านคิดว่าจะเพิ่มนามสกุลท่านให้ program จะทำอย่างไร

11. ไปที่ tab file  folder dist 9. เพิ่มคำสั่งต่อท้ายคลาส Example2 ดังนี้ class Example2 { public static void main(String args[]) { System.out.println("Hello …"); } 10. Run  clean build 11. ไปที่ tab file  folder dist 12. มี class file ที่เกิดขึ้นชื่ออะไรบ้าง

แบบฝึกหัด ให้สร้างคลาสชื่อ Profile เพื่อรับค่าประวัติส่วนตัว ได้แก่ name lastname sex พร้อมแสดงทางจอภาพ ดังรูป