บทที่ 7 ตัวแปรและการจัดการข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
LAB # 1.
Advertisements

Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
ฟังก์ชัน (Function).
LAB # 4 Computer Programming 1 1. พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้
LAB # 4.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
2.3.2 Contrast Stretching Contrast
While by Accords (IT SMART CLUB 2006) by Accords 1.
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
การทำซ้ำ Pisit Nakjai.
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Magic Gas Group 5 Uniworld Indicator Magic Gas Group 5 Uniworld IndicatorM.1/5.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
เสียงจาก ผู้ให้บริการ พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
โปรแกรม ภาษา C ภาษาซี (C Language) เป็นภาษาหนึ่งสำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์   พัฒนาขึ้นโดยนายเดนนิส  ริทชี่ (Dennis Ritche)  ในปี ค.ศ. 1972  เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C
บทที่ 3 การวิเคราะห์ปัญหา และการแทนข้อมูล ตอนที่ 2
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Important probability distribution of variable
คำอธิบายรายวิชา การเขียนผังงาน รหัสเทียม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง ชนิดตัวแปร ตัวดำเนินการทางตรรกะ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ.
Control Chart for Attributes
เมื่อเข้าสู่โปรแกรมจะแสดงหน้าจอสำหรับตรวจสอบสิทธิผู้ปฏิบัติงาน รหัสที่ใช้ต้องเป็นรหัสนายทะเบียนหรือผู้ช่วยนายทะเบียน และต้องมีสิทธิในการใช้งานฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร.
การเปิดชั้นข้อมูล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
การควบคุม และการจำหน่ายพัสดุ
ข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่ของภาษา VB
บทที่ 3 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีซิมเพล็กซ์ (Simplex Method) (ต่อ) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
บทที่ 11 การจำลองเหตุการณ์ โดยโปรแกรม Scratch Part II
การเพิ่มกลุ่มข้อมูลลงในกราฟโดยใช้ Graph Wizard
กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน
การสร้างบุคลิกภาพในงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
ข้อมูลและสารสนเทศ.
การแก้ปัญหา.
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
การวิเคราะห์แบบสอบถามด้วยโปรแกรม SPSS
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
ตัวแปรชนิดพอยเตอร์ (Pointer)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
10 สถานที่ท่องเที่ยว ขอแนะนำ.
Variable Constant.
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
กิจกรรมที่ 8 เริ่มต้นกับ Scratch.
ระบบรายงานข้อมูลการประกันตัวผู้ขับขี่ ร.ย.03 (1)
กิจกรรมที่ 9 การสร้างตัวแปร ใน Scratch.
บทที่ 10 การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อยและการสร้างลำดับขั้นตอนย่อย
การใช้งานโปรแกรม Happinometer
การเขียนโปรแกรมภาษา Java (ต่อ)
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 ตัวแปรและการจัดการข้อมูล (Variables and data processing)

จุดประสงค์การเรียนรู้ เข้าใจหลักการพื้นฐานของตัวแปร เข้าใจการเปลี่ยนค่าของตัวแปรใด ๆ สามารถดำเนินการกับตัวแปรได้อย่างถูกต้อง สามารถเขียนผังงาน โดยมีการรับค่าตัวแปรได้

หัวข้อเรื่อง ตัวแปรคืออะไร ตัวแปรทางการวิจัย ตัวแปรทางคณิตศาสตร์ ตัวแปรทางภาษาคอมพิวเตอร์ ตัวอย่าง

ตัวแปรคืออะไร (ตัวแปรในการวิจัย) ตัวแปรในการวิจัย หมายถึง คุณลักษณะหรือคุณสมบัติของหน่วย ตัวอย่างที่เปลี่ยนแปลงค่าได้ตามคุณสมบัติของมัน หรือตามค่าที่ผู้วิจัยกำหนด เช่น “เพศ” แปรได้ 2 ค่า คือ หญิง,ชาย “ระดับการศึกษา” แปรได้หลายค่า ได้แก่ ประถม, มัธยม, ปริญญาตรี

ตัวแปรคืออะไร (ตัวแปรทางคณิตศาสตร์) ตัวแปรทางคณิตศาสตร์ หมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แทนข้อมูลที่ เปลี่ยนแปลงค่าได้ โดยมีสัญลักษณ์ที่นิยมใช้ เช่น a, b, c, x, y, z,… เพื่อเขียน แทนตัวที่เราไม่รู้ค่าในสมการ เช่น Y = 2X + 5

ตัวแปรคืออะไร (ตัวแปรทางคอมพิวเตอร์) ตัวแปรทางภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ชื่อหรือสัญลักษณ์ที่ใช้ในการ แทนข้อมูล เพื่อแสดงถึงจำนวนหรือปริมาณ เพื่อแสดงถึงคุณสมบัติจำเพาะ เป็น ต้น ซึ่งจำเป็นต้องกำหนดชนิดของตัวแปรนั้นด้วย เพื่อให้ระบบทำการจองพื้นที่ ในหน่วยความจำตามชนิดของตัวแปรและทำการเปลี่ยนแปลงค่าได้ด้วยคำสั่ง ตามโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น int X คือ การกำหนดตัวแปรชื่อ x ชนิด int

ตัวแปร (เปรียบเสมือนภาชนะ) ตัวแปรเปรียบเสมือนกระถางต้นไม้ที่สามารถปลูกต้นอะไรก็ได้ แต่กระถางหนึ่งใบไม่สามารถปลูกต้นไม้หลายต้นได้ การดำเนินการใด ๆ กับตัวแปรเปรียบเสมือนการรดน้ำพรวนดินให้ต้นไม้ที่อยู่ในกระถาง

กำหนดตัวแปร X มาหนึ่งตัว X เปรียบเสมือน ตัวแปรที่ว่างเปล่า ยังไม่ได้เก็บค่าใด ๆ กระถางที่ยังว่างเปล่า ยังไม่ได้ปลูกต้นไม้ใด ๆ

กำหนดให้ X = 5 เปรียบเสมือนปลูกต้นไม้ชนิดที่ 1 ลงไปในกระถาง

กำหนดให้ X = 10 เปรียบเสมือนปลูกต้นไม้ชนิดที่ 2 ลงไปในกระถาง (ชนิดใหม่)

การดำเนินการ X + 5 เปรียบเสมือนการรดน้ำต้นไม้

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ X = 4 จากสมการ Y = 2X + 24 จงหาค่าของ Y

แทนค่า X = 4 ลงในสมการ Y = 2(4) + 24 จะได้ค่า Y = 32

X Y = 2X + 24 Y ขั้นตอนการทำงาน รับค่าตัวเลขมาใส่ตัวแปร X เริ่มต้น สิ้นสุด

X 4 Y = 2X + 24 Y = 2(4) + 24 Y 32 ขั้นตอนการทำงาน เริ่มต้น แสดงผลลัพธ์ 32 เริ่มต้น X 4 Y = 2X + 24 Y = 2(4) + 24 Y 32 สิ้นสุด

แทนค่า X = 0 ลงในสมการ Y = 2(0) + 24 จะได้ค่า Y = 24

X Y = 2X + 24 Y ขั้นตอนการทำงาน เริ่มต้น รับค่าตัวเลขมาใส่ตัวแปร X สิ้นสุด

X Y = 2X + 24 Y = 2(0) + 24 Y 24 ขั้นตอนการทำงาน เริ่มต้น แสดงผลลัพธ์ 24 เริ่มต้น X Y = 2X + 24 Y = 2(0) + 24 Y 24 สิ้นสุด

แทนค่า X = -3 ลงในสมการ Y = 2(-3) + 24 จะได้ค่า Y = 18

X Y = 2X + 24 Y ขั้นตอนการทำงาน เริ่มต้น รับค่าตัวเลขมาใส่ตัวแปร X สิ้นสุด

X -3 Y = 2X + 24 Y = 2(-3) + 24 Y 18 ขั้นตอนการทำงาน เริ่มต้น แสดงผลลัพธ์ 18 เริ่มต้น X -3 Y = 2X + 24 Y = 2(-3) + 24 Y 18 สิ้นสุด

ตัวอย่างที่ 2 จงหาปริมาตรของทรงกรวย โดยสูตรการหาปริมาตรของทรงกรวย (V) คือ

เป็นสัญลักษณ์ที่สามารถกำหนด ค่าคงที่ได้ มีค่า = 3.14159 เป็นตัวแปร แทนค่ารัศมี เป็นตัวแปร แทนค่าความสูง

เป็นตัวแปร บรรจุค่าผลลัพธ์ ถ้ากำหนดให้ r = 2 , h = 3 r = 2 h = 3 1 3 𝜋𝑟 2 ℎ 1 3 ∗ 3.14∗2 2 3 V = 12.57 เป็นตัวแปร บรรจุค่าผลลัพธ์ ดังนั้นปริมาตรทรงกรวย = 12.57 ลูกบาศก์หน่วย

เริ่มต้น r, h V = 1 3 𝜋𝑟 2 ℎ v สิ้นสุด ขั้นตอนการทำงาน

เริ่มต้น r, h 2, 3 V = 1 3 𝜋𝑟 2 ℎ v 12.57 สิ้นสุด ขั้นตอนการทำงาน แสดงผลลัพธ์ 12.57 r, h 2, 3 V = 1 3 𝜋𝑟 2 ℎ V = 1 3 3.14 2 2 3 v 12.57 สิ้นสุด

รู้หรือไม่ ? หากสลับตำแหน่งของตัวแปร จะทำให้ตัวแปรมีค่าเปลี่ยนไป ในวิชาคณิตศาสตร์ อาจจะมีคุณสมบัติการสลับที่ สำหรับการคูณ และการบวก

แต่สำหรับการเขียนโปรแกรมนั้น จะสลับตำแหน่งกันไม่ได้

ตัวอย่าง กำหนด x = 10 กำหนด y = 20 และกำหนด x = y x จะมีค่าเท่ากับ 20 และ y = 20 เช่นเดิม

ตัวอย่าง กำหนด x = 10 กำหนด y = 20 และกำหนด y = x x = y y จะมีค่าเท่ากับ 10 และ x = 10 ด้วย

ขั้นตอนการสร้างตัวแปร เลือกหมวดคำสั่ง Data กด Make a Variable ตั้งชื่อตัวแปรตามต้องการ เรียบร้อยแล้วกด OK

หลังจากสร้างตัวแปรเรียบร้อย จะปรากฏบล็อกคำสั่ง ดังนี้

ตัวอย่างการใช้ตัวแปร (ตัวแปรที่ถูกเก็บอยู่ในบล็อกคำสั่ง answer ซึ่งเป็นข้อมูลที่ผู้ใช้กรอกเข้ามา) เก็บค่าจากจากบล็อกคำสั่ง answer ลงในตัวแปร number

แนะนำการใช้บล็อกคำสั่งการคำนวณทางคณิตศาสตร์ การคำนวณกับ 2 ตัวเลข การคำนวณมากกว่า 2 ตัวเลข เช่น (5-1)+10 -> (10+2)/(3*1) ->

ตัวอย่างการใช้บล็อกคำสั่งทางคณิตศาสตร์ จากตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ X = 4 จากสมการ Y = 2X + 24 จงหาค่าของ Y

X Y = 2X + 24 Y ขั้นตอนการทำงานการหาค่า Y สามารถเขียนผังงานได้ ดังนี้ เริ่มต้น X Y = 2X + 24 Y สิ้นสุด

เริ่มต้น X = 4 Y = 2( 4 ) + 24 Y = 32 สิ้นสุด

เริ่มต้น X = 4 Y = 2( 4 ) + 24 Y = 32 สิ้นสุด

เริ่มต้น X = 4 Y = 2( 4 ) + 24 Y = 32 สิ้นสุด

ชมตัวอย่างได้ที่ https://scratch.mit.edu/projects/111055008/

แหล่งอ้างอิง ส่วนทฤษฎีตัวแปร จาก http://www.stou.ac.th http://www.vcharkarn.com https://th.wikipedia.org ส่วนตัวอย่าง Scratch จาก https://scratch.mit.edu