การวางแผน การสรรหา และการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
INDM 0419 Industrial Human Resource Management 1 ภาพรวมของการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management: Overview.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการบุคลากรทรัพยากรมนุษย์
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางแผน การสรรหา และการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ บทที่ 3. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

ความหมายของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ หมายถึง เป็นกระบวนการพยากรณ์ความต้องการทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร รวมทั้งวิธีการที่จะทำให้ได้มาซึ่งบุคลากรตามที่ต้องการอย่างเป็นระบบ เพื่อให้องค์กร มีทรัพยากรมนุษย์ที่มีความรู้ ความสามารถเหมาะสมทั้งในด้านปริมาณ และคุณภาพ ซึ่งจะช่วยสนับสนุนให้การดำเนินงานขององค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์กรที่กำหนดไว้

ความสำคัญของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ระดับบุคคล เป็นการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ที่ช่วยในการปรับปรุงทักษะ ระดับองค์กร เป็นการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ที่ช่วยในการยกระดับประสิทธิภาพขององค์กร ระดับชาติ เป็นการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ที่ช่วยในการคัดเลือกและการพัฒนาบุคลากรอย่างมีระบบขององค์กร

วัตถุประสงค์ของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้ได้มาซึ่งบุคลากรที่ต้องการในจำนวนที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาบุคคลที่มีอยู่ ให้สามารถปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ขององค์กรที่กำหนดไว้ ในปัจจุบันและอนาคตได้ เพื่อรักษาบุคลากรที่มีอยู่ให้คงอยู่กับองค์กร ด้วยความมุ่งมั่น อุตสาหะ เป็นประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร เพื่อใช้ประโยชน์จากบุคลากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อเตือนล่วงหน้าถึงภัยอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นหากไม่สามารถที่จะจัดการเรื่องของบุคลากร เพื่อสร้างความแน่นอนในการจ้างงาน

กระบวนการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ แผนการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร แผนการพัฒนาและการฝึกอบรมบุคลากร แผนการปรับเปลี่ยนความรู้และทักษะของบุคลากร แผนการเกลี่ยบุคลากรมาใช้ในกรณีที่องค์กรจะต้องการลดขนาดบุคลากร แผนการเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร แผนการทดแทนบุคลากรที่มีอยู่ในองค์กร

การคาดการณ์ทรัพยากรมนุษย์ เงื่อนไขสภาวะเศรษฐกิจโดยทั่วไปที่มีอยู่ในปัจจุบัน แผนธุระกิจขององค์กรที่กำหนดไว้ในช่วงระยะเวลา 5 ปี โครงสร้างองค์กรที่คาดหวังไว้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต การรวมทรัพยากรมนุษย์และผลผลิตขององค์กร แนวโน้มการจ้างงานของตลาดแรงงานในอดีตและปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงนโยบายและโปรแกรมบุคลากรขององค์กร

ประโยชน์ของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ช่วยปรับปรุงการใช้ทรัพยากรมนุษย์ให้ดีขึ้น โดยอาศัยการประเมินผล การปฏิบัติงาน ช่วยให้เกิดประสิทธิภาพการประสานงานทางด้านกิจกรรมทรัพยากรมนุษย์และวัตถุประสงค์ขององค์กรในอนาคต ช่วยให้ประสบผลสำเร็จด้านการประหยัดในการจ้างบุคลากรใหม่

ช่วยกระจายข่าวสารการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพื่อช่วยงานกิจกรรมทรัพยากรมนุษย์ ช่วยประสานงานโปรแกรมการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีความแตกต่างกันอย่างเช่น การยืนยันแผนปฏิบัติการ

ความหมายของการสรรหาทรัพยากรมนุษย์ สรุปได้ว่า การสรรหาทรัพยากรมนุษย์ หมายถึง เป็นกระบวนการแสวงหา จูงใจ การกลั่นกรอง และคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณสมบัติ คุณวุฒิทางการศึกษา พร้อมทั้งมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน อันเหมาะสมกับตำแหน่งงานที่เปิดรับสมัครเข้ามาสมัครงานกับองค์กร และยังช่วยให้องค์กรสามารถประกอบกิจการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดได้

หลักการสรรหาทรัพยากรมนุษย์ หลักคุณธรรม (Merit system) หลักความรู้ความสามารถ (Competency) หลักความเสมอภาค (Equality) หลักการให้โอกาส (Opportunity) หลักความมั่นคง (Security)

การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ในการสรรหาบุคลากร นโยบายขององค์กรในการสรรหาบุคลากรจะทำให้เกิดผลสัมฤทธิ นโยบายการแต่งตั้งบุคลากรจากภายใน เป็นการเปิดโอกาสให้แก่บุคลากรขององค์กรที่ปฏิบัติงาน นโยบายการจ่ายค่าตอบแทน เป็นการกำหนดอัตราค่าตอบแทนค่าจ้างหรือเงินเดือนในตำแหน่งงานด้วยความเป็นธรรม นโยบายการจ้างงานตามสถานภาพองค์กร

สภาพการจ้างขององค์กร เป็นแรงจูงใจที่ผู้สมัครเข้าทำงาน จะนำมาเป็นปัจจัย ในการประกอบการพิจารณาตัดสินใจสมัครเข้าทำงานกับองค์กรนั้น ๆ มีรายละเอียดดังนี้ สภาพการทำงาน เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมและบรรยากาศการทำงานที่ดี การประกันความมั่นคง เป็นการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ผลประโยชน์ตอบแทน เป็นการจัดผลตอบแทนนอกเหนือจากค่าจ้างหรือเงินเดือนอันได้แก่สวัสดิการอย่าง มีโอกาศก้าวหน้า เป็นการส่งเสริมบุคลากรที่มีประสิทฺภาพในการทำงาน

กระบวนการสรรหาทรัพยากรมนุษย์ การจัดทำข้อมูลตำแหน่งงานที่ต้องการสรรหา การนำข้อมูลจากการวิเคราะห์งานมาใช้ในการสรรหา เป็นการสรรหาบุคลากร การกำหนดวิธีการสรรหา เป็นขั้นตอนการกำหนดวิธีการสรรหาบุคลากร การดำเนินการสรรหา เป็นการนำข้อมูลตำแหน่งงานว่างประกาศให้บุคลากร ทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กร การประเมินผลการสรรหา เป็นกระบวนการสรรหาในขั้นตอนสุดท้ายของ การสรรหาบุคลากร

วิธีการสรรหาทรัพยากรมนุษย์ การสรรหาบุคลากรโดยการประกาศรับสมัครอย่างเป็นทางการ การสรรหาบุคลากรโดยไม่ประกาศรับสมัครอย่างเป็นทางการ เป็นการสรรหาบุคลากรจากภายในองค์กรให้ดำรงตำแหน่งที่ว่าง

การสรรหาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันการศึกษา (Educational institutions) เป็นสถาบันการศึกษาจะประกอบด้วย โรงเรียน วิทยาลัย สถาบัน และมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นแหล่งสำคัญในการผลิตบุคลากรทุกระดับอาชีพ อย่างเช่น ระดับไม่มีฝีมือ กึ่งฝีมือ ช่างฝีมือ ช่างเทคนิค และวิชาชีพ การสรรหาบุคลากรจากสถาบันการศึกษา แหล่งจัดหางาน (Employment sources) เป็นแหล่งจัดหางานจากสำนักงาน จัดหางานให้แก่บุคลากรที่ยังไม่มีงานทำ การว่างงาน ต้องการเปลี่ยนงาน

การโฆษณาทางสื่อสารมวลชน ประกาศรับสมัครงาน (Job announcement) การเข้ามาสมัครงานด้วยตนเอง (Walk – ins ) การเขียนใบสมัครงาน (Write – ins) จัดพิมพ์หนังสือการเลือกสรร (Recruitment literature) จัดสรรทุนการศึกษา (Educational fund allocation)

ความหมายของการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ การคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ หมายถึง เป็นกระบวนการต่อเนื่องมาจากการสรรหาบุคลากรโดยการตัดสินใจเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมมากที่สุดเข้ามาปฏิบัติงานในตำแหน่งต่าง ๆ จากบรรดาผู้สมัครทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เครื่องมือที่คาดว่าจะพยากรณ์หรือคาดการณ์คุณสมบัติของบุคลากรได้ใกล้เคียงกับวัตถุประสงค์ขององค์กรมากที่สุด

ความสำคัญของการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ การคัดเลือกบุคลากรที่มีความสำคัญต่อองค์กร ซึ่งเป็นกระบวนการต่อเนื่องมาจากการสรรหาบุคลากร เพื่อทำการปฏิบัติงานตามสายงานขององค์กร ดังนั้นการคัดเลือกบุคลากรขององค์กรจะประกอบด้วยนโยบายการคัดเลือกบุคลากรขององค์กร ประสิทธิภาพการทำงานขององค์กร ใช้การพิจารณากลั่นกรองคัดเลือกบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ การคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพ การคัดเลือกบุคลากรต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน และคณะกรรมการคัดเลือกบุคลากรจะต้องมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์

กระบวนการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการคัดเลือกบุคลากรเข้ามาทำงาน โดยจะเริ่มจากการให้กรอกใบสมัคร ทำการสัมภาษณ์เบื้องต้น เพื่อทำความรู้จักกันหรือนัดหมายผู้สมัครให้เข้ามาสัมภาษณ์เบื้องต้น ทำการทดสอบข้อเขียน สอบสัมภาษณ์ และสอบปฏิบัติ เป็นต้น เมื่อเสร็จสิ้นการทดสอบเจ้าหน้าที่จะทำการตรวจสอบประวัติ ก่อนทำการ สัมภาษณ์ครั้งสุดท้าย เพื่อการตัดสินใจและประกาศผลสอบคัดเลือก ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของ การคัดเลือกบุคลากรเข้าทำงาน

การคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์โดยการทดสอบ เป็นการทดสอบผู้สมัครงานเพื่อการประเมินผลผู้สมัครงานทางด้านความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมกับตำแหน่งงาน ที่รับสมัคร การเลือกใช้แบบทดสอบประเภทใดในการคัดเลือกจะต้องทำการวิเคราะห์งาน เพื่อทำการเลือกแบบทดสอบให้เหมาะสมกับการคัดเลือกตำแหน่งงานที่ได้กำหนดแต่ละประเภทไว้ ซึ่งสิ่งที่ไม่ควรทำอย่างยิ่งก็คือการนำแบบทดสอบที่จะทำการทดสอบคัดเลือกบุคลากรเข้าทำงานเพียงลักษณะรูปแบบเดียวมาใช้ในการคัดเลือกบุคลากรในทุกตำแหน่งงานขององค์กร

การคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์โดยการสัมภาษณ์ เป็นการทดสอบผู้สมัครงาน เพื่อการประเมินผลผู้สมัครงานทางด้านความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมกับตำแหน่งงาน ที่รับสมัคร โดยองค์กรจะมีผู้บริหารระดับสูงเพื่อทำการสัมภาษณ์ผู้สมัคร และมีการเปรียบเทียบ จากการที่ได้สัมภาษณ์ระหว่างผู้สมัครด้วยกัน ก่อนที่จะทำการตัดสินใจคัดเลือกผู้สมัครเข้ามาทำงานในตำแหน่งงานขององค์กร

บทสรุป การสรรหาทรัพยากรมนุษย์ เป็นกระบวนการแสวงหา จูงใจ การกลั่นกรอง และคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณสมบัติ คุณวุฒิทางการศึกษา พร้อมทั้งมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน อันเหมาะสมกับตำแหน่งงาน หลักการสรรหาบุคลากร เป็นการ สรรหาบุคลากรจากการวิเคราะห์งานที่มีความเหมาะสมในองค์กร

ส่วนการคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์โดยการสัมภาษณ์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ การสัมภาษณ์ที่มีการกำหนดแนวทางขึ้นล่วงหน้ากับการสัมภาษณ์ที่ไม่ได้มีการกำหนดแนวทางขึ้นล่วงหน้า การสัมภาษณ์จะเป็นแบบใดก็ตามควรจะมีลำดับขั้นประกอบด้วย 6 ขั้นตอนอันได้แก่ การเตรียมการสัมภาษณ์ การสร้างความสัมพันธ์ การถามคำถาม การยุติ การสัมภาษณ์ การทบทวนการสัมภาษณ์ และการประเมินผลการสัมภาษณ์ สิ่งที่สำคัญหลังสุดก็คือ การประเมินผลการสัมภาษณ์ เพื่อให้ทราบถึงพฤติกรรม 4 อย่างก็คือ สติปัญญา การจูงใจ บุคลิกภาพ ความรู้ และประสบการณ์ของผู้รับการสัมภาษณ์

Thank you