กระบวนการดำเนินการทางวินัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

แนวทางการบริหารงบประมาณ
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน ว่าด้วยมาตรการป้องกัน แก้ไข และ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับผู้ได้รับการยกเว้น.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การออกคำสั่งทางปกครอง
กฎหมายและระเบียบ สาธารณสุข ที่เกี่ยวข้อง.
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ.2552
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ ฉบับที่ 2 ( พ. ศ. 2557) เรื่อง แก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ และ วิธีการในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
การต่อเวลาราชการ 65 ปี สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น งานบริหารงานบุคคล กองการ เจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การอำนวยความเป็นธรรม ในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
แนวทางการจัดทำรายงาน
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
การบรรยาย เรื่อง เทคนิคการสืบสวนสอบสวน
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
อำนาจสืบสวน สอบสวน (มาตรา 17-21)
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
พรบ. ข้าราชการ กทม.ข้อบัญญัติกทม. เรื่อง ลูกจ้าง พ.ศ. 2535
ประชุมโครงการเตรียมการรองรับการประกาศ ใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย แก่ผู้ที่พ้นจากราชการ วันพฤหัสบดีที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ เวลา ๑๓.๐๐.
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการดำเนินการทางวินัย โครงการฝึกอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การพัฒนานิติกรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติ ราชการตามกฎหมายใหม่” กระบวนการดำเนินการทางวินัย นายวรฉัตร วิรัชลาภ นิติกรชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มวินัย กองการเจ้าหน้าที่

กฎหมายหลัก พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๙๐ – ๑๐๖ กฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย พ.ศ.๒๕๕๖ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๔๒ ม. ๙๒ ม. ๙๓ พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ ม. ๔๐ ม.๔๑ และ ม. ๔๒ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเร่งรัดติดตามเกี่ยวกับกรณีเงินขาดบัญชี หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐทุจริต พ.ศ.๒๕๔๖

กระบวนการการดำเนินการทางวินัย การสืบสวนหรือพิจารณาในเบื้องต้น การสอบสวน การรายงานการดำเนินการทางวินัย

การสืบสวน เมื่อมีการกล่าวหาหรือเป็นกรณีเป็นที่สงสัยว่ามีการกระทำผิดวินัย ผู้บังคับบัญชา มีหน้าที่ต้องรายงานผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตาม ม. ๕๗ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตาม ม. ๕๗ ดำเนินการสืบสวน/สั่งให้ดำเนินการสืบสวน พิจารณาในเบื้องต้นว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยหรือไม่ กรณีเห็นว่ามีมูลเพราะมีพยานหลักฐานในเบื้องต้นอยู่แล้วตาม ม. ๙๒ หรือ ๙๒ แล้วแต่กรณี สืบสวนแล้วเห็นว่า ไม่มูล ให้ยุติเรื่อง ตาม ม. ๙๑ เป็นกรณีมีมูล ให้ดำเนินการตาม ม. ๙๒ หรือ ๙๒ แล้วแต่กรณี

ลักษณะการกล่าวหา กล่าวหาเป็นหนังสือ กล่าวหาด้วยวาจา ระบุชื่อ และลงลายมือชื่อผู้กล่าวหา ระบุชื่อหรือตำแหน่งของผู้ถูกล่าวหา หรือข้อเท็จจริงที่เพียงพอให้ทราบว่าเป็นการกล่าวหาผู้ใด ระบุข้อเท็จจริงและพฤติการณ์แห่งการกระทำที่มีการกล่าวหาเพียงพอที่จะเข้าใจได้ หรือแสดงพยานหลักฐานเพียงพอที่จะสืบสวนต่อไปได้ กล่าวหาด้วยวาจา

กรณีเป็นที่สงสัย อาจมีลักษณะดังนี้ มีการกล่าวหาแต่ไม่ระบุชื่อผู้กล่าวหา และไม่ลงลายมือชื่อผู้กล่าวหา ระบุชื่อหรือตำแหน่งของผู้ถูกล่าวหา หรือข้อเท็จจริงที่ปรากฏเพียงพอที่จะทราบว่าเป็นการกล่าวหาผู้ใด และข้อเท็จจริงและพฤติการณ์นั้นเพียงพอที่จะสืบสวนสอบสวนต่อไปได้ หรือ มีข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ปรากฏต่อผู้บังคับบัญชาอันเป็นที่สงสัยว่าทำผิดวินัย โดยมีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะสืบสวนสอบสวนต่อไปได้

กรณีที่ถือว่าไม่มีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตาม ม. ๕๗ สั่งให้ยุติเรื่อง ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์แวดล้อมและพยานหลักฐานไม่เพียงพอให้ทราบว่าผู้ใดกระทำผิด ข้อเท็จจริงและพฤติการณ์แวดล้อมและพยานหลักฐานไม่เพียงพอที่จะทำให้เข้าใจได้ว่ามีการกระทำผิดวินัย หรือไม่เพียงพอที่จะดำเนินการสืบสวนสอบสวนต่อไปได้ พฤติการณ์แห่งการกระทำนั้นไม่เป็นความผิดวินัย

การสอบสวนทางวินัย การดำเนินการในกรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง การดำเนินการในกรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง

กรณีไม่ตั้งคณะกรรมการสอบสวน การดำเนินการในกรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง (ม. ๙๒) กรณีไม่ตั้งคณะกรรมการสอบสวน แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ รับฟังคำชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหา ผู้มีอำนาจฯ ตาม ม. ๕๗ เห็นว่า กระทำผิด ลงโทษตามควรแก่กรณี ไม่ได้กระทำผิด สั่งยุติเรื่อง

กรณีตั้งคณะกรรมการสอบสวน คณะกรรมการสอบสวนต้องดำเนินการสอบสวน รวบรวมข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ ต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา ทำรายงานการสอบสวนพร้อมเสนอความเห็น ภายในหกสิบวัน ผู้มีอำนาจฯ ตาม ม. ๕๗ เห็นว่า ไม่ได้กระทำผิด สั่งยุติเรื่อง(ม. ๙๒) ทำเป็นคำสั่ง(ข้อ ๖๖) กระทำผิดไม่ร้ายแรง ลงโทษตามควรแก่กรณี (ม. ๙๖) ทำเป็นคำสั่ง (ข้อ ๖๗) กระทำผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ ทำเป็นคำสั่งงดโทษ (ข้อ ๗๓) กระทำผิดนัยอย่างร้ายแรง แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนใหม่

การดำเนินการในกรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง (ม การดำเนินการในกรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง (ม. ๙๓) แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน หน้าที่คณะกรรมการสอบสวน แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ รับฟังคำชี้แจงของผู้ถูกกล่าวหา รายงานผลการสอบสวนและความเห็นเสนอผู้มีอำนาจฯ ตาม ม. ๕๗ ผู้มีอำนาจฯ ตาม ม. ๕๗ เห็นว่า ไม่ได้กระทำผิด สั่งยุติเรื่อง กระทำผิด วินัยไม่ร้ายแรง ม. ๙๖ วินัยอย่างร้ายแรง ม. ๙๗

องค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวน ต้องเป็นข้าราชการพลเรือน ประธานกรรมการต้องดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้ถูกกล่าวหา กรรมการอย่างน้อยหนึ่งคนต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งนิติกร หรือได้รับปริญญาทางกฎหมาย หรือผู้ได้รับการฝึกอบรมตามหลักสูตรการดำเนินการทางวินัย หรือผู้มีประสบการณ์ด้านการดำเนินการทางวินัย จะมีผู้ช่วยเลขานุการแต่งตั้งจากข้าราชการฝ่ายพลเรือน พนักงานราชการหรือลูกจ้างประจำก็ได้

หน้าที่ของผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน แจ้งคำสั่งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ และให้ผู้ถูกกล่าวหาลงลายมือชื่อและวันที่รับทราบไว้เป็นหลักฐาน พร้อมทั้งให้แจ้งตำแหน่งประธานกรรมการ กรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ (ถ้ามี) รวมทั้งสิทธิที่จะคัดค้านกรรมการสอบสวนไปพร้อมกัน ถ้าแจ้งโดยตรงไม่ได้ให้แจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ กรณีที่มีการคัดค้านกรรมการสอบสวน คณะกรรมการสอบสวนต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่

หน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน สอบสวนและพิจารณาตามหลักเกณฑ์ วิธีการและระยะเวลาที่กำหนดในกฎ ก.พ. เพื่อแสวงหาความจริงในเรื่องที่ถูกกล่าวหา และดูแลให้บังเกิดความยุติธรรมตลอดกระบวนการสอบสวน ในการสอบสวนและพิจารณาห้ามมิให้บุคคลอื่นอยู่หรือร่วมด้วย รวบรวมข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาได้ชี้แจงแสดงพยานหลักฐาน พิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่สอบสวน ทำรายงานการสอบสวนพร้อมความเห็นเสนอต่อผู้สั่งแต่งตั้งฯ

การรวบรวมพยานหลักฐาน พยานหลักฐานทั้งปวงที่เป็นประโยชน์แก่การสอบสวนให้รวบรวมไว้ให้ครบถ้วน โดยไม่รับฟังแต่เพียงข้ออ้างหรือพยานหลักฐานของผู้กล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวหา สอบพยานครั้งละ ๑ คน พร้อมทั้งแจ้งให้ทราบว่าคณะกรรมการสอบสวนเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา การให้ถ้อยคำอันเป็นเท็จอาจเป็นความผิดตามกฎหมาย การสอบปากคำ กรรมการสอบสวนต้องมีไม่น้อยกว่าสามคน ห้ามขูด ลบ หรือบันทึกข้อความทับข้อความที่บันทึกไว้ ผู้ถูกกล่าวหาสามารถนำทนายความหรือที่ปรึกษาเข้ามาในการสอบปากคำได้ ห้ามให้คำมั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือกระทำโดยมิชอบไม่ว่าด้วยประการใด เพื่อจูงใจให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือพยานให้ถ้อยคำ เอกสารที่ใช้เป็นพยานให้ใช้ต้นฉบับ

การแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน ให้ทำเป็นบันทึกระบุข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ของผู้ถูกกล่าวหาว่าได้กระทำการใด เมื่อใด อย่างไร เป็นความผิดวินัยในกรณีใด และสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา โดยจะระบุชื่อพยานด้วยหรือไม่ก็ได้ แจ้งสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาที่จะให้ถ้อยคำหรือยื่นคำชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาเป็นหนังสือ สิทธิที่จะแสดงพยานหลักฐานหรืออ้างพยานหลักฐานเพื่อขอให้เรียกพยานหลักฐาน ทำตามแบบที่ ก.พ. กำหนด ให้ผู้ถูกกล่าวหาลงลายมือชื่อในบันทึกรับทราบ /ส่งทางไปรษณีย์เมื่อครบ ๑๕ วัน ถือว่าทราบ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และวิธีการที่จะให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา

ระยะเวลาการสอบสวน การสอบสวนผู้ถูกกล่าวหา ถามผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดตามข้อกล่าวหาหรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด กรณีรับทราบสารภาพว่าได้กระทำผิดตามข้อกล่าวหาใด ให้บันทึกไว้ แล้วจะไม่ทำการสอบสวนในข้อหานั้นก็ได้ ถ้าไม่ให้ถ้อยคำหรือชี้แจงภายในสิบห้าวัน ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ประสงค์ที่จะชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา ระยะเวลาการสอบสวน ๑๒๐ วัน นับแต่วันประชุมกรรมการสอบสวนครั้งแรก ขยายได้ตามความจำเป็น ครั้งละไม่เกิน ๖๐ วัน ถ้าเกิน ๑๘๐ วัน รายงาน อ.ก.พ.กระทรวงทราบเพื่อติดตามเร่งรัด

การประชุมเพื่อพิจารณาทำความเห็น เมื่อได้แจ้งข้อกล่าวหาและและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาให้ถูกกล่าวหาทราบ และได้ให้โอกาสชี้แจง พร้อมทั้งได้รวบรวมพยานหลักฐานเพียงพอแล้วให้คณะกรรมการสอบสวนประชุมเพื่อพิจารณาว่าผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดวินัยในเรื่องที่สอบสวนหรือไม่ ถ้าผิดเป็นความผิดวินัยกรณีใด ตามมาตราใด ควรได้รับโทษสถานใด และมีเหตุอันควรลดหย่อนหรือไม่ เพียงใด ถ้าผลการสอบสวนยังไม่ได้ความแน่ชัดพอที่จะลงโทษ กรรมการต้องไม่น้อยกว่าสามคน และไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการสอสวนทั้งหมด

การจัดทำรายงานสอบสวน ทำตามแบบที่ ก.พ. กำหนด ต้องประกอบด้วยข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย ข้อกล่าวหา พยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ประเด็นที่จะต้องพิจารณา ความเห็นของกรรมการฯ กรรมการฯ ทุกคนต้องลงลายมือชื่อกำกับทุกหน้า

การพิจารณา กระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง หรือไม่ได้กระทำผิดวินัย กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง เสนอ อ.ก.พ.กรม ยังไม่ได้ความชัดเจนพอที่จะลงโทษเพราะกระทำผิดวินัยอย่างร่ายแรง แต่เห็นว่า หย่อนความสามารถฯ บกพร่องในหน้าที่ราชการ ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือ มีมลทินมัวหมองในกรณีที่ถูกสอบสวน ถ้าให้รับราชการต่อไปจะเสียหาย เสนอ อ.ก.พ.กรมฯ เพื่อพิจารณา ม. ๙๗ วรรคสอง ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนหรือผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนฯ เห็นว่า กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุฯ ส่งเรื่องให้ อ.ก.พ.กรมฯ พิจารณา เมื่อ อ.ก.พ.กรมฯ มีมติเป็นประการใด ให้สั่งหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น

การรายงานการดำเนินการทางวินัย ม. ๑๐๓ เมื่อผู้บังคับบัญชาได้สั่งลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้...หรือสั่งยุติเรื่อง หรืองดโทษแล้ว ให้รายงาน อ.ก.พ.กระทรวงซึ่งผู้ถูกดำเนินการทางวินัยสังกัดอยู่เพื่อพิจารณา... ในกรณีที่ อ.ก.พ.กระทรวง หรือ... เห็นว่าการดำเนินการทางวินัยเป็นการไม่ถูกต้องหรือไม่เหมาะสม หากมีมติเป็นประการใด ให้ผู้บังคับบัญชาสั่งหรือปฏิบัติให้เป็นไปตามที่ อ.ก.พ.กระทรวง หรือ ... มีมติ

การดำเนินการทางวินัยกรณีพิเศษ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๔๒ ม. ๙๒ ม. ๙๓ พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ ม. ๔๐ ม.๔๑ และ ม. ๔๒ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการเร่งรัดติดตามเกี่ยวกับกรณีเงินขาดบัญชี หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐทุจริต พ.ศ.๒๕๔๖