งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

2 พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน
หน่วยปฏิบัติ กระบวนการบริหารงานบุคคล กำหนดตำแหน่ง วินัย ก.พ. การสรรหา อุทธรณ์ ก.พ.ค เพิ่มพูนประสิทธิภาพ ร้องทุกข์ จรรยา ออก

3 เป้าหมาย - ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
- ความมีประสิทธิภาพ และความ คุ้มค่า - ให้ข้าราชการปฏิบัติราชการอย่างมี คุณภาพ คุณธรรม และมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี

4 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
1. กรรมการโดยตำแหน่ง ได้แก่ นายกรัฐมนตรีหรือรอง ประธาน ปลัดกระทรวงการคลัง ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ เลขาธิการ ก.พ. กรรมการ/เลขา

5 คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
2. กรรมการซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารและการจัดการ ด้านกฎหมาย จำนวน 5 – 7 คน (วาระ 3 ปี )

6 หน้าที่ กำหนดนโยบาย ออกหลักเกณฑ์ กฎ วินิจฉัย ตีความ ติดตาม กำกับ ดูแล
ออกหลักเกณฑ์ กฎ วินิจฉัย ตีความ ติดตาม กำกับ ดูแล  (๔) ให้ความเห็นชอบกรอบ อัตรากำลังของส่วนราชการ

7 มติ ก.พ.

8 อ.ก.พ. สามัญประจำจังหวัด อ.ก.พ. สามัญประจำส่วนราชการอื่น ๆ
อ.ก.พ. วิสามัญ อ.ก.พ. สามัญ อ.ก.พ. สามัญประจำกระทรวง อ.ก.พ. สามัญประจำกรม อ.ก.พ. สามัญประจำจังหวัด อ.ก.พ. สามัญประจำส่วนราชการอื่น ๆ

9 อ.ก.พ. วิสามัญ เป็นคณะที่ ก.พ. ตั้งขึ้นเพื่อทำการใด ๆ แทน ก.พ.

10 อ.ก.พ. สามัญประจำกระทรวง
1. อนุกรรมการโดยตำแหน่ง ได้แก่ รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ประธาน ปลัดกระทรวง รอง ผู้แทน ก.พ. 1 คน

11 อ.ก.พ. สามัญประจำกระทรวง
2. อนุกรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. แต่งตั้งจาก - ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการ บริหารและการจัดการ และด้านกฎหมาย และมิได้เป็นข้าราชการใน กระทรวงนั้น จำนวน ไม่เกิน 3 คน - ข้าราชการพลเรือนประเภทบริหารระดับสูงในกระทรวง ซึ่ง ได้รับเลือกจากข้าราชการพลเรือนที่ดำรงตำแหน่งดังกล่าวในกระทรวง จำนวนไม่เกิน 5 คน

12 อ.ก.พ. สามัญประจำกระทรวง
มีหน้าที่ - พิจารณากำหนดนโยบายและระบบการ บริหารงานบุคคล - การเกลี่ยอัตรากำลังในกระทรวง - พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องการดำเนินการทาง วินัยและการสั่งให้ออกจากราชการ

13 อ.ก.พ. สามัญประจำกรม 1. อนุกรรมการโดยตำแหน่ง ได้แก่ อธิบดี ประธาน รองอธิบดี 1 คน รอง ประธาน

14 อ.ก.พ. สามัญประจำกรม 2. อนุกรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. แต่งตั้ง จาก - ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการ จัดการ และด้านกฎหมาย และมิได้เป็น ข้าราชการในกรมนั้น จำนวน ไม่เกิน 3 คน - ข้าราชการพลเรือนประเภทบริหาร หรืออำนวยการในกรมนั้น ซึ่งได้รับเลือก จากข้าราชการ พลเรือนที่ดำรง ตำแหน่งดังกล่าวในกรมนั้น จำนวนไม่เกิน 6 คน

15 อ.ก.พ. สามัญประจำกรม หน้าที่ พิจารณากำหนดนโยบายและระบบการ บริหารงานบุคคลตลอดจนระเบียบวิธีการ ปฏิบัติราชการในกรม ตาม ก.พ. และ อ.ก.พ. กระทรวงกำหนด เกลี่ยอัตรากำลังภายในกรม พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องการดำเนินการทาง วินัยและการสั่งให้ออกจากราชการ

16 อ.ก.พ. สามัญประจำจังหวัด
1. อนุกรรมการโดยตำแหน่ง ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธาน รองผู้ว่าราชการจังหวัด 1 คน รอง ประธาน

17 อ.ก.พ. สามัญประจำจังหวัด
2. อนุกรรมการซึ่งประธาน อ.ก.พ. แต่งตั้ง จาก - ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการ จัดการ และด้านกฎหมาย และมิได้เป็น ข้าราชการในจังหวัดนั้น จำนวน ไม่เกิน 3 คน - ข้าราชการพลเรือนประเภทบริหาร หรืออำนวยการ ซึ่งกระทรวงหรือกรม แต่งตั้งไปประจำจังหวัดนั้นในจังหวัดนั้น ซึ่งได้รับเลือกจากข้าราชการพลเรือนซึ่ง ดำรงตำแหน่งดังกล่าวในจังหวัด ซึ่งแต่ละ คนต้องไม่สังกัดกระทรวงเดียวกันจำนวน ไม่เกิน 6 คน

18 อ.ก.พ. สามัญประจำจังหวัด
หน้าที่ -พิจารณากำหนดนโยบายและระบบการ บริหารงานบุคคลตลอดจนระเบียบวิธีปฏิบัติ ราชการในจังหวัด ที่ ก.พ. กำหนด - ดำเนินการตามที่ อ.ก.พ. กระทรวง หรือ กรม มอบหมาย - พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องการดำเนินการทาง วินัย และการสั่งให้ออกจากราชการ

19 อ.ก.พ. สามัญประจำส่วนราชการอื่น ๆ
ส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมและไม่สังกัด กระทรวง แต่อยู่ในบังคับบัญชาของ นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี หรือส่วนราชการ ที่มีฐานะเป็นกรมและมีหัวหน้าส่วนราชการ รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อ นายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี กรมไม่สังกัดกระทรวง ให้อำนาจหน้าที่ของ อ.ก.พ. กระทรวง เป็น อำนาจหน้าที่ของ อ.ก.พ. กรมด้วย (อ.ก.พ. กรม ทำแทน) แต่ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ให้มีรัฐมนตรีเจ้า สังกัดเป็นประธาน และอธิบดีเป็นรองประธาน และผู้แทน ก.พ. ซึ่งตั้งจากข้าราชการพลเรือน ในสำนักงาน ก.พ. 1 คน เป็นอนุกรรมการ โดยตำแหน่ง

20 อ.ก.พ. สามัญประจำส่วนราชการอื่น ๆ
สำหรับสำนักงานเลขานุการรัฐมนตรีว่าการ กระทรวง ให้ อ.ก.พ. สำนักงาน ปลัดกระทรวง ทำหน้าที่ อ.ก.พ. กรม

21 คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
จำนวน 7 คน 6 ปี ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว เกษียณอายุ 70 ปี ทำงานเต็มเวลา ได้รับเงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบ แทนอย่างอื่นเช่นเดียวกับผู้ดำรงตำแหน่ง ประเภทบริหารระดับสูง เลขาธิการ ก.พ. เป็นเลขานุการของ ก.พ.ค.

22 คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
(1) การพิทักษ์ระบบคุณธรรม (2) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ คำสั่งให้ออก จากราชการ (3) พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ (4) พิจารณาเรื่องการคุ้มครองระบบคุณธรรม

23 ข้าราชการพลเรือน มี 2 ประเภท คือ 1) ข้าราชการพลเรือนสามัญ
2) ข้าราชการพลเรือนในพระองค์

24 คุณสมบัติ 1. มีสัญชาติไทย 2. มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปี 3. เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยด้วยความบริสุทธิ์ใจ 4 .ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งข้าราชการการเมือง 5. กายไม่ทุพพลภาพจนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ไร้ความสามารถ หรือจิตฟั่นเฟือน 6. ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีจนเป็นที่รังเกียจของสังคม 7. ไม่เป็นกรรมการพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง

25 คุณสมบัติ 8. ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย *
9. เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงาน อื่นของรัฐ (*2 ปี) 10 เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก หรือปลดออก เพราะกระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามกฎหมายอื่น (*2 ) 11. เป็นผู้เคยถูกลงโทษไล่ออก เพราะ กระทำผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้หรือ ตามกฎหมายอื่น (3 ปี) 12. เป็นผู้เคยกระทำการทุจริตในการสอบเข้า รับราชการ หรือเข้าปฏิบัติงานใน หน่วยงานของรัฐ

26 คุณสมบัติ 8 – 12 อาจได้รับการยกเว้นโดยมติ ก.พ. เฉพาะรายหรือยกเว้นทั่วไป ด้วยมติ 4 ใน 5 แต่ถ้าเป็นข้อ 9 – 10 ต้อผ่านมาแล้วไม่ น้อยกว่า 2 ปี ข้อ 11 ต้องผ่าน มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี

27 การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญให้คำนึงถึง ระบบคุณธรรม
(1) การบรรจุและแต่งตั้ง ต้องคำนึงถึง ความรู้ความสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเป็นธรรม และ ประโยชน์ของทางราชการ

28 การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญให้คำนึงถึง ระบบคุณธรรม
(2) การบริหารทรัพยากรบุคคล ต้อง คำนึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพ ขององค์กรและลักษณะของงาน โดย ไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม

29 การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญให้คำนึงถึง ระบบคุณธรรม
(3) การพิจารณาความดีความชอบ ต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรมโดย พิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และ ความประพฤติ และจะนำความ คิดเห็นทางการเมืองหรือสังกัดพรรค การเมืองมาประกอบการพิจารณามิได้

30 การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญให้คำนึงถึง ระบบคุณธรรม
(4) การดำเนินการทางวินัย ต้อง เป็นไปด้วยความยุติธรรมและโดย ปราศจากอคติ

31 การจัดระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญให้คำนึงถึง ระบบคุณธรรม
(5) การบริหารทรัพยากรบุคคลต้องมี ความเป็นกลางทางการเมือง

32 การกำหนดตำแหน่ง ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ มี 4 ประเภท
ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ มี 4 ประเภท (1) ตำแหน่งประเภทบริหาร ได้แก่ - ระดับต้น ได้แก่ รองกรม รองผู้ว่า ระดับสูง ได้แก่ ป. / หัวหน้าส่วนกรม / ผู้ว่า / เอกอัครราชทูต / รองปลัดกระทรวง / รองหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมในสำนักนายกรัฐมนตรี / ผู้ตรวจกระทรวง

33 การกำหนดตำแหน่ง (2) ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ได้แก่
- ระดับต้น หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับ กรม / หัวหน้าสำนักงานจังหวัดและหัวหน้า ส่วนราชการประจำจังหวัดตาม / นายอำเภอ - ระดับสูง หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม/ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด / นายอำเภอ / ผู้ตรวจราชการกรม

34 การกำหนดตำแหน่ง (3) ตำแหน่งประเภทวิชาการ มี 5 ระดับ ปฏิบัติการ /ชำนาญ /ชำนาญการพิเศษ /เชี่ยวชาญ (4) ตำแหน่งประเภททั่วไป เ มี 4 ระดับ /ปฏิบัติงาน/ชำนาญงาน/อาวุโส / ทักษะพิเศษ - ครม. ปรับเงินเดือนปรับเงินเดือน ไม่เกิน ร้อยละ ทำโดย พรฎ.

35 การบรรจุและการแต่งตั้ง
1. บริหารระดับสูง ตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง 2. วิชาการระดับทรงคุณวุฒิ รัฐมนตรี เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดเป็นผู้สั่งบรรจุ และให้นายกรัฐมนตรีนำทูลเกล้า ฯ แต่งตั้ง บริหารระดับสูงตำแหน่งรองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม ผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดกระทรวง เสนอรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ เมื่อได้รับอนุมัติจากแล้ว ให้ปลัดกระทรวงเป็นผู้สั่งบรรจุ และให้นายกรัฐมนตรีนำทูลเกล้า ฯแต่งตั้ง 1. บริหารระดับต้น (รองอธิบดี รองผู้ว่าราชการจังหวัด) 2. วิชาการระดับเชี่ยวชาญ ปลัดกระทรวง เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง

36 การบรรจุและการแต่งตั้ง
อำนวยการระดับสูง ปลัดกระทรวงเป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง 1. อำนวยการระดับต้น 2. วิชาการระดับชำนาญการ พิเศษ 3. ทั่วไประดับทักษะพิเศษ ให้อธิบดี เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งเมื่อได้รับความเห็นชอบจากปลัดกระทรวง 1. วิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชำนาญการ 2. ทั่วไประดับปฏิบัติงาน ชำนาญงาน และอาวุโส อธิบดี เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง

37 การบรรจุและการแต่งตั้ง
* ภูมิภาค 1. วิชาการ ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ 2. ทั่วไประดับปฏิบัติงาน ชำนาญงาน และอาวุโส ผู้ว่าราชการจังหวัด

38 ลองภูมิ หน่วยใดกำหนดจำนวน ประเภท สาย งาน
ใครเป็นผู้ปรับเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูง ศาลปกครองมีคำพิพากษาถึงที่สุดสั่งให้เพิก ถอนคำสั่งแต่งตั้ง ใครมีหน้าที่เยียวยา แก้ไข การสรรหา ทำได้กี่วิธี การบรรจุต้องเป็นระดับเริ่มต้นเสมอไป หรือไม่ ขรก.บริหารต้องอยู่กี่ปี ต่ออายุได้มั้ย ต่อ ได้กี่ปี ใครอนุมัติ

39 ลองภูมิ รักษาการในตำแหน่งหมายถึง
(ว่าง ทำงานไม่ได้ ไม่ได้กำหนดไว้ใน บห.แผ่นดิน) ใครมีอำนาจแต่งตั้งผู้รักษาการใน ตำแหน่ง (ผู้สั่งบรรจุ) ผู้รักษาการในตำแหน่งมีอำนาจแค่ ไหน

40 การเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ
ข้าราชการพลเรือนสามัญที่ประพฤติตนอยู่ ในจรรยาและระเบียบ วินัยและปฏิบัติ ราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผล สัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ให้ผู้บังคับบัญชา พิจารณาเลื่อนเงินเดือนให้ตามควรแก่กรณี และจะให้บำเหน็จความชอบอย่างอื่นซึ่งอาจ เป็นคำชมเชย เครื่องเชิดชูเกียรติ หรือ รางวัล ด้วยก็ได้ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดถึงแก่ ความตายเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเลื่อนเงินเดือนให้ ผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษเพื่อประโยชน์ในการ คำนวณบำเหน็จบำนาญตามระเบียบที่ คณะรัฐมนตรีกำหนด

41 การรักษาจรรยาข้าราชการ
(1) การยึดมั่นและยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง (2) ความซื่อสัตย์สุจริตและความรับผิดชอบ (3) การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใสและ สามารถตรวจสอบได้ (4) การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่าง ไม่เป็นธรรม (5) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

42 การรักษาจรรยาข้าราชการ
ไม่ปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการที่มิใช่เป็นความผิดวินัย ผู้บังคับบัญชา ทำอะไรได้บ้าง ตักเตือน นำไปประกอบการพิจารณาแต่งตั้ง เลื่อนเงินเดือน สั่งให้ข้าราชการผู้นั้นได้รับการพัฒนา

43 วินัยและการรักษาวินัย
ระดับของวินัย แบ่งออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ๑. ความผิดวินัย (การไม่ปฏิบัติ สิ่งที่ควรปฏิบัติ) ๒. ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติโดยมิชอบ การไม่ปฏิบัติทำให้เกิดความเสียหาย ร้ายแรง)

44 โทษทางวินัย มี 5 สถาน คือ (1) ภาคทัณฑ์ (2) ตัดเงินเดือน (3) ลดเงินเดือน (4 ) ปลดออก (5) ไล่ออก

45 การดำเนินการทางวินัย
ยุติเรื่อง การดำเนินการทางวินัย ไม่ทำผิด แจ้งกล่าวหา รับฟังชี้แจง ลงโทษ ยุติเรื่อง ทำผิด ถูกกล่าวหา รายงาน ผบ ๕๗ ไม่มีมูล ไม่ร้ายแรง ผบ.ต้น สงสัย ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน สืบสวน พิจารณาเบื้องต้น มีมูล วินัยร้ายแรง ผบ.๕๗ พบ ปลดออก ไล่ออก ทัณฑ์บน ว่ากล่าวตักเตือน แต่งตั้งกรรมการสอบ ก.พ. อกพ. กระทรวง อกพ.กรม / จังหวัด วินัยร้ายแรง แจ้งกล่าวหา รับฟังชี้แจง อกพ.กระทรวง สอบสวยใหม่ เพิ่มเติม รายงานผลต่อ ผบ ๕๗ ผบ ๕๗ พิจารณา ทำผิด ไม่ร้ายแรง ไม่ทำผิด ยุติเรื่อง

46 การอุทธรณ์ การอุทธรณ์ทุกสถานหรือถูกสั่งให้ออก มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ภายใน 30 วัน 2 เมื่อ ก.พ.ค. พิจารณาวินิจฉัย อุทธรณ์ภายใน 120 วัน (๖๐+๖๐) ให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการให้เป็นไป ตามคำวินิจฉัยภายใน 30 วัน ผู้อุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัย อุทธรณ์ของ ก.พ.ค. ให้ฟ้องคดีต่อ ศาลปกครองสูงสุดภายใน 90 วัน

47 อำนาจ ก.พ.ค. ไม่รับอุทธรณ์ ยกอุทธรณ์
หรือมีคำวินิจฉัยให้แก้ไขหรือยกเลิก คำสั่งลงโทษ และให้เยียวยาความ เสียหายให้ผู้อุทธรณ์ หรือ ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่ง ความยุติธรรม เพิ่มโทษไม่ได้ เว้น ก.พ. ให้เพิ่ม กรณี อกพ.กระทรวง ไม่ทำตาม พรบ.

48 การร้องทุกข์ ข้าราชการมีความคับข้องใจ
ให้ร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือ ขึ้นไป เว้นแต่ หน.ส่วนระดับกรมที่ขึ้นตรง นายกหรือรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง รัฐมนตรี นายก ร้องทุกข์ต่อ ก.พ.ค

49 ไม่รับเรื่องร้องทุกข์
ยกคำร้องทุกข์ หรือมีคำวินิจฉัยให้แก้ไขหรือยกเลิกคำสั่ง และให้เยียวยาความ เสียหายให้ผู้ร้องทุกข์ หรือให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม

50 การคุ้มครองระบบคุณธรรม
ในกรณีที่ ก.พ.ค. เห็นว่ากฎ ระเบียบ หรือคำสั่งใดที่ออกและมุ่ง หมายให้ใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่ สอดคล้องกับระบบคุณธรรม ให้ ก.พ.ค. แจ้งให้หน่วยงานหรือผู้ออกกฎ ระเบียบ หรือคำสั่งดังกล่าวทราบเพื่อ ดำเนินการแก้ไข หรือยกเลิกตามควร แก่กรณี

51 สั่งให้ข้าราชการออกจากราชการ
1 เมื่อข้าราชการเจ็บป่วยไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ ราชการของตนได้โดยสม่ำเสมอ ๒. เมื่อข้าราชการสมัครไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความประสงค์ของทางราชการ 3 เมื่อข้าราชการขาดคุณสมบัติ 4 เมื่อทางราชการเลิกหรือยุบตำแหน่ง 5 เมื่อข้าราชการไม่สามารถปฏิบัติราชการให้ มีประสิทธิภาพได้ 6 ถูกสอบสวนวินัยร้ายแรง ไม่มีความผิด แต่มีมลทินมัวหมอง 7 ต้องคำสั่งจำคุก

52 การออกจากราชการ เมื่อ ตาย พ้นจากราชการตามกฎหมาย ว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ลาออก จากราชการและได้รับอนุญาตให้ลาออก ถูกสั่งให้ออก และ ถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือไล่ออก ปฏิบัติหน้าที่ในทางวิชาการหรือหน้าที่ที่ ต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัว จะให้รับ ราชการต่อไปอีกไม่เกิน 10 ปีก็ได้ (เฉพาะตำแหน่งวิชาการระดับเชี่ยวชาญ และทรงคุณวุฒิ / ทั่วไปอาวุโสและทักษะ พิเศษ)

53 ข้าราชการพลเรือนในพระองค์
การแต่งตั้งและการให้ข้าราชการพล เรือนในพระองค์พ้นจากตำแหน่งให้ เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย


ดาวน์โหลด ppt พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google