การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
ข้อมูลเขตสุขภาพที่ 5 ประชากรรวม 5,253,070 คน ประชากรรวม 5,253,070 คน เด็กอายุ 0-5 ปี 164,497 คน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1,357 แห่ง จำนวนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 60,600 คน
การคัดกรองพัฒนาการเด็กภาพรวม 12 เขต (1 เมษายน 2558- 31 มกราคม 2559) 1 2 3 ผลงานคัดกรองพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติฯ ภาพรวมทั้ง 12 เขต พบว่า เขต 5 ค้นหาเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า 12.44% สูงสุดเป็นลำดับที่ 3 รองจาก เขต 1 = 14.95% และเขต 10= 12.77%
ผลงานการคัดกรองพัฒนาการเด็กเขต 5 ปีงบประมาณ 2559 6 เดือน(ตค.58-มีค. 59) ลำดับกิจกรรม จำนวน ร้อยละ จำนวนเด็กเป้าหมาย (164,497) 71,986 43.76 พัฒนาการสมวัย 60,227 83.66 พัฒนาการสงสัยล่าช้า 11,759 16.34 ได้รับการติดตาม 11,596 94.01 สมวัยหลังได้รับการกระตุ้น 8,458 71.93 ไม่สมวัยหลังได้รับการกระตุ้น 2,665 22.66 ขาดการติดตาม/ติดตามไม่ได้ 163 1.83 อยู่ระหว่างการติดตาม 541 4.60
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เขต 5 จำแนก 8 จังหวัด (1 ตุลาคม 2558- 31 มีนาคม 2559) 1 2 3 ผลงานคัดกรองพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 5 ค้นหาเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า สูงสุดคือ เพชรบุรี = 27.09% รองลงมาสุพรรณบุรี= 26.31% กาญจนบุรี= 15.59%
ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็กเขตสุขภาพที่ 5 จำแนก4 ช่วงอายุ 9,18,30,42 เดือน การค้นหาเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า4 ช่วงอายุ พบว่า ค้นหาได้มากในช่วง 42 เดือน 17.33% รองลงมา 18 เดือน = 17.32% 30 เดือน= 16.08% น้อยสุดคือ ช่วง 9 เดือน=14.08%
Key Success “การตามเด็กมาพัฒนา”
นโยบายผู้ตรวจราชการ “คืนเด็กดีสู่ครอบครัว / ชุมชน 100%” 1. ข้อมูล : มีข้อมูลครบถ้วน Update ถูกต้อง 2. วิเคราะห์ปัญหาและสถานะของเขต และหาโอกาสพัฒนา 3. วางยุทธศาสตร์/ทำแผนเพื่อพัฒนาให้ชัดเจน 4. M&E (วิเคราะห์&ประเมินผล) “คืนเด็กดีสู่ครอบครัว / ชุมชน 100%”
Customer Relationship Conceptual Framework Human (CHRO) Resource (CFO) Customer Relationship Procurement Operation HRM Competency Develop ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง แผน,จำนวน โควตา ค่าตอบแทน Communication Network System (CIO) Service (CSO) Care Process Technology Service Infrastructure ANC LR/OR PP Nursery/NICU Well baby Clinic ครอบครัวชุมชน ข้อมูล การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ นำไปใช้ การจัดบริการ คุณภาพบริการ - ระบบ Refer บุคลากร/ครุภัณฑ์ จำนวน การกระจาย
CHRO CFO CIO CSO CEO COO
Problem Accessibility ; เชิงรุก - Coverage 100% - Drop out= 0 Quality - Work over load - competency
Envision change คัดกรองก่อนออกจาก รพ. การแก้ปัญหาเรื่อง Accessibility - coverage - drop out แยกประเภท ผู้ป่วยเป็น เขียว / เหลือง / แดง แก้ปัญหาเรื่อง Quality - work over load - Competency
Design system 1. การคัดกรองก่อนออกจาก รพ. - Register เด็กคลอดทุกรายและจัดเป็นรุ่น - ขอหลักฐานแฟ้มประวัติ ; บัตรประชาชน ชื่อสกุล เบอร์โทรศัพท์ ฯลฯ - การย้ายถิ่นฐาน ให้ส่งหลักฐาน เพื่อการส่งต่อ เป็นการแก้ปัญหาเรื่อง Accessibility - coverage - drop out
- เขียว กลุ่มปกติ ดูแลโดย WCC, รพ.สต. ศสม. ครู,ครอบครัว 2. (แยกประเภท) - เขียว กลุ่มปกติ ดูแลโดย WCC, รพ.สต. ศสม. ครู,ครอบครัว - เหลือง กลุ่มเสียง : High risk clinic - แดง กลุ่มผิดปกติ : คลินิกพัฒนาการเด็ก เป็นการ - แก้ปัญหาเรื่อง Quality (work over load) (Competency)
Management Process 1. ระดับหน่วยงาน 2. ระดับอำเภอ 3. ระดับจังหวัด wcc, รพ.สต / ศสม. ,ศูนย์เด็กเล็ก, ครอบครัว 2. ระดับอำเภอ High risk clinic, รพช./รพท./รพศ. (ในอำเภอ) 3. ระดับจังหวัด คลินิกพัฒนาการเด็ก, รพท./รพศ. (ในจังหวัด) 4. ระดับเขต รพศ.นครปฐม,ราชบุรี,หัวหิน,บ้านแพรว - สถาบันกัลยาราชนครินทร์ - สถาบันราชานุกูล 5. ระดับประเทศ
M&E / Goal เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมิน 100% เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมิน 100% กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตาม ครบ 5 ปี 100% เด็กที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้น 100%
Key Success Factor การตามเด็กมาพัฒนา
Result รพ.สมเด็จพระสังฆราช 17 ผลงาน 5 เดือน เริ่ม ธันวาคม 2558 1. การคัดกรองพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง - เด็กเกิดทั้งหมด 592 คน - เด็กปกติ 521 คน - เด็กกลุ่มเสี่ยง 71 คน - เด็กผิดปกติ 0 คน
Result 2. การดำเนินงานพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง - พัฒนาการสมวัย 70.59% - พัฒนาการสงสัยล่าช้า 29.41% - TEDA4I 4 ราย - drop out 0