Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กำหนดการ – น. ลงทะเบียน – น. กล่าวต้อนรับและเปิดการสัมมนา – น. นโยบายส่งเสริมการลงทุนใน รูปแบบคลัสเตอร์ โดย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการ.
Advertisements

(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
เข้าสู่วาระการประชุม
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สิทธิมนุษยชน ขั้นพื้นฐาน.
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
กลุ่มที่ ๗ ศูนย์อนามัยที่ ๑ ๒ ๓.
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี นางสาวสกุณา คุณวโรตม์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ระหว่างวันที่ 2-3 พฤษภาคม 2560

ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี เฝ้าระวังแหล่งน้ำบริโภค ผ่านเกณฑ์ 10% โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานกระทรวงสาธารณสุข มีการดำเนินงานตามมาตรฐาน Green & Clean Hospital (ร้อยละ 75) -> 79 แห่ง ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการ ปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพอย่างบูรณาการ มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน -> ร้อยละ 100 ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงฯ ผ่านเกณฑ์ ระดับพื้นฐาน 73.42% 25.00 % ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี 11.36 % เฝ้าระวังแหล่งน้ำบริโภค ผ่านเกณฑ์ 10% ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการ จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน -> 88 ชุมชน จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษมีฐานข้อมูลและ การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม-> 2 จังหวัด สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ ข้อมูล ณ วันที่ 30 มีนาคม 2560 จากแบบรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

กลุ่ม (Cluster) อนามัยสิ่งแวดล้อม 1. สถานการณ์/ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการกรม (PA) และตัวชี้วัดตรวจราชการ ปี 2560 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานกระทรวงสาธารณสุขมีการดำเนินงานตามมาตรฐาน Green & Clean Hospital (ร้อยละ 75) ร้อยละ 75 73.42 - ส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์ข้อ 1 กำหนดนโยบาย แผน

สิ่งที่ค้นพบ ข้อเสนอแนะ ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ (GREEN & CLEAN Hospital) ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ณ 31 มีนาคม 2560 สิ่งที่ค้นพบ - ผู้ตรวจฯ ให้ความสำคัญและเน้นในเวทีตรวจราชการ - นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด จัดทำ MOU กับผู้บริหารโรงพยาบาลทุกแห่งในการดำเนินงาน G&C ข้อเสนอแนะ - สิ่งที่ประเมินยังไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ควรมีการเข้าแผนพัฒนา(โดยเฉพาะในเรื่องโครงสร้าง) ต่อไป

ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี กรมอนามัย กลุ่ม (Cluster) อนามัยสิ่งแวดล้อม 1. สถานการณ์/ผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี กรมอนามัย ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 1.ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพ ในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน 88 แห่ง (ร้อยละ 100)) จังหวัดขับเคลื่อน 100 % (ศอ.สุ่ม 10 แห่ง 11.36% ผ่าน 100%) 2. จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษมีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2 จังหวัด (ตราด,สระแก้ว) เฝ้าระวังน้ำบริโภค ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 10 (สระแก้ว 4 ผ่าน 1 ,ตราด 6 ผ่าน 0)

กลุ่ม (Cluster) อนามัยสิ่งแวดล้อม 1. สถานการณ์/ผลการดำเนินงาน โครงการสำคัญ (ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ 20 ปี ด้านสาธารณสุข) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการ ปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพอย่างบูรณาการ มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน (ร้อยละ 100 ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงฯ ผ่านเกณฑ์ ระดับพื้นฐาน) 8 จังหวัด (ร้อยละ 100) 2 จังหวัด (ร้อยละ 25) *รายงาน 4 จังหวัด (ผ่าน 2 แห่ง ระยอง,ตราด) (ไม่ผ่าน 2 แห่ง สมุทรปราการ,ฉะเชิงเทรา) -ไม่ผ่านเกณฑ์ข้อ 5 ชุมชนมีศักยภาพ

ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ Innovation - การพัฒนาระบบสิ่งแวดล้อมจากส่วนกลางไม่นิ่ง มีผลต่อการถ่ายทอดและชี้แจงให้กับจังหวัด - ยังไม่มีระบบการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่พิเศษ - ระบบรายงานสิ่งแวดล้อมไม่มีในระบบ HDC และ 43 แฟ้ม (ยกเว้น GREEN & CLEAN) - การสื่อสารทำความเข้าใจกับภาคีเครือข่ายมีการคลาดเคลื่อน - ขาดการรายงานผลการดำเนินงานจากจังหวัด เนื่องจากไม่ใช่งานตามตัวชี้วัด ภาระงานมาก - ควรมีการประสานงานและติดตามอย่างใกล้ชิดผ่านช่องทางการสื่อสารหลายรูปแบบ อาทิ Line /Facebook/E-Mail และเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานแบบคู่ขนาน - NEHIS - ศอ.ควรมีการชี้แจงรายละเอียดการดำเนินการแต่ละประเด็นให้มีความเข้าใจ โดยอาจใช้หลายวิธีการร่วมกัน อาทิ ประชุมชี้แจง ทำหนังสือเวียน/ตัวอย่างการดำเนินงาน ลง พท.เยี่ยมนิเทศ - ศอ.ควรมีการติดตามรายงานหลายช่องทาง/พัฒนารูปแบบ โดยอาจทำงานบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่ายนอก, ลง พ.ท., ขอข้อมูลจาก ทสจ., ติดตามในเวทีศูนย์วิชาการ, เน้นสร้างความสัมพันธ์ภาคี - รพ.พระปกเกล้า จ.จันทบุรี มีนวัตกรรมประหยัดพลังงาน - รพ.เขาสุกิม จ.จันทบุรี ต้นแบบด้านการจัดการส้วม โดยเน้นที่ชุมชนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม /แหล่งทุนจากชุมชน

สวัสดีค่ะ