วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา 13.30 น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล การประชุมชี้แจงระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้ เพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำ และสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา 13.30 น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2555 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2555 บทนิยาม “หน่วยงานของรัฐ” = ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นของรัฐ “หน่วยงานเจ้าของโครงการ” = หน่วยงานของรัฐที่ได้รับอนุมัติหรือ ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการตามโครงการ “โครงการ” ได้แก่ 1. โครงการตามแผนปฏิบัติการบริหารจัดการน้ำ การป้องกันและแก้ไข ปัญหาอุทกภัยแห่งชาติ 2. โครงการอื่นใดที่ กนอช. หรือ กบอ. เห็นว่า เป็นโครงการที่ เกี่ยวเนื่องกับการบริหารจัดการน้ำหรืออุทกภัย 3. โครงการตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ ตามที่ กยอ. กำหนด 4. แผนงานหรือการดำเนินการใด ๆ ที่ถูกกำหนดให้อยู่ในแผนปฏิบัติ การหรือแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว “เงินกู้” = เงินกู้ตามพระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงิน เพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 (วงเงิน 350,000 ล้านบาท)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 บททั่วไป 1. ระเบียบนี้ใช้บังคับเฉพาะแก่โครงการที่ต้องดำเนินการโดยใช้จ่ายเงินจาก เงินกู้ 2. โครงการใดได้รับการจัดสรรทั้งงบประมาณรายจ่ายและเงินกู้หรือแหล่งใด แหล่งหนึ่งในภายหลัง การดำเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวกับงบประมาณ รายจ่าย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายว่า ด้วยการนั้น ส่วนการดำเนินการที่เกี่ยวกับเงินกู้ให้เป็นไปตามระเบียบนี้ โครงการใดดำเนินการโดยได้รับการจัดสรรจากงบประมาณรายจ่ายให้ หน่วยงานเจ้าของโครงการรายงานให้ กบอ. ทราบ (ข้อ 5 และ ข้อ 6) 3. การจัดสรรเงินกู้ การเบิกจ่ายเงินกู้ และการรายงานผล การดำเนิน โครงการ ให้รับส่งข้อมูลผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโครงการ โดย กระทรวงการคลังจัดส่งข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ข้อ 7) 4. กรณีที่โครงการใดต้องดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบใด ให้หน่วยงานเจ้าของโครงการดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายและ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง (ข้อ 11) 5. กรณีมีปัญหาในการปฏิบัติตามระเบียบ ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้มีอำนาจ พิจารณาวินิจฉัยหรือกำหนดวิธีปฏิบัติ เป็นการเฉพาะเรื่อง (ข้อ 12) 6. ผู้กำกับดูแลในการดำเนินโครงการ ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดเป็นผู้กำกับดูแล และให้ถือเป็นตัวชี้วัดในการประเมินผล การปฏิบัติงาน (ข้อ 18)
หน้าที่ของสำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 หน้าที่ของสำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 1. สำนักงบประมาณมีหน้าที่พิจารณาจัดสรรวงเงินกู้ พิจารณาคำขอโอนหรือ เปลี่ยนแปลงรายละเอียด ซึ่งไม่ใช่สาระสำคัญที่กำหนดในโครงการ และ พิจารณาคำขอใช้เงินเหลือจ่ายเพื่อชดเชยค่างานก่อสร้าง รวมทั้งกำหนด หลักเกณฑ์หรือวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง (ข้อ 8) 2. กรมบัญชีกลางมีหน้าที่รับฝากเงินกู้ไว้ในบัญชีเงินฝากกระทรวงการคลัง และ จัดทำระบบบัญชีและระบบการเบิกจ่ายเงินสำหรับโครงการ รวมทั้งกำหนด หลักเกณฑ์หรือวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง (ข้อ 9) 3. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะมีหน้าที่พิจารณาจัดหาเงินกู้ ดำเนินการเปิด บัญชี “บัญชีเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ” และนำ ฝากเงินกู้ไว้ในบัญชี จัดทำระบบบริหารเงินสดและบริหารจัดการเงินกู้ และ รายงานสถานะเงินกู้ รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์หรือวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง (ข้อ 10) เมื่อดำเนินโครงการและเบิกจ่ายเงินแล้วเสร็จครบทุกโครงการ ให้ปิด “บัญชี เพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำและ สร้างอนาคตประเทศ” และนำเงิน ที่เหลือในบัญชีส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน (ข้อ 28) 4. สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ มี หน้าที่ประสานงานหน่วยงานเจ้าของโครงการเพื่อเร่งรัดการดำเนินงาน ติดตามความก้าวหน้าในการเบิกจ่ายเงินกู้ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไข ปัญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของหน่วยงานเจ้าของ โครงการในส่วนที่เกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินกู้ ต่อ กบอ. หรือ กยอ. แล้วแต่ กรณี (ข้อ 23)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 การอนุมัติโครงการ ตามแผนปฏิบัติการบริหารจัดการน้ำ การป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยแห่งชาติ กรณีมีแผนปฏิบัติการฯ แล้ว และหน่วยงานของรัฐยังไม่เสนอโครงการ เมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกับแผนปฏิบัติการแล้ว กบอ. มีหน้าที่แจ้ง หน่วยงานเจ้าของโครงการเพื่อจัดทำรายละเอียดของโครงการตาม แผนปฏิบัติการดังกล่าว พร้อมกับวงเงินการใช้จ่ายที่ขอรับการจัดสรรจาก เงินกู้เสนอ ต่อ กบอ. ภายในเวลาที่กำหนด กบอ. พิจารณาเสนอความเห็นต่อ กนอช. เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา อนุมัติต่อไป เว้นแต่ โครงการที่ กนอช. มีมติเห็นชอบในหลักการให้ ดำเนินการได้ไว้แล้ว กบอ. จึงจะสามารถเสนอต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา อนุมัติได้โดยตรง (ข้อ 13) หน่วยงานของรัฐนั้นมีหน้าที่จัดทำรายละเอียดของโครงการดังกล่าว พร้อม กับวงเงินการใช้จ่ายที่ขอรับการจัดสรร จากเงินกู้ เสนอต่อ กบอ. กบอ. พิจารณาเสนอความเห็นต่อ กนอช. เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา อนุมัติ เว้นแต่ โครงการที่ กนอช. มีมติเห็นชอบในหลักการให้ ดำเนินการได้ไว้แล้ว กบอ. จึงจะสามารถเสนอต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา อนุมัติได้โดยตรง (ข้อ 13) กรณียังไม่มีแผนปฏิบัติการ แต่หน่วยงานของรัฐได้เสนอโครงการต่อ กบอ. แล้ว
การอนุมัติโครงการ ตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 การอนุมัติโครงการ ตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ โครงการใดเป็นโครงการตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้าง อนาคตประเทศ ตามที่ กยอ. กำหนด หน่วยงานเจ้าของโครงการ โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีเจ้าสังกัด เสนอรายละเอียดของ โครงการตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ และวงเงินการใช้จ่ายที่ขอรับจัดสรรจากเงินกู้ต่อ กยอ. ภายใน ระยะเวลาที่ กยอ. กำหนด เพื่อพิจารณากลั่นกรอง แล้วเสนอต่อ คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ (ข้อ 14) 12
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 การดำเนินการโครงการ 1. เมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติโครงการแล้ว หน่วยงานเจ้าของโครงการมี หน้าที่ส่งแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินกู้ต่อสำนักงบประมาณ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และจัดสรรวงเงินกู้ กรณีที่มีการกู้เงินจากต่างประเทศเพื่อใช้ในโครงการใดโครงการหนึ่ง โดยเฉพาะ และแหล่งเงินกู้กำหนดให้ใช้หลักเกณฑ์และระเบียบในการ ดำเนินงานและการจัดซื้อจัดจ้างของแหล่งเงินกู้นั้น ให้หน่วยงานเจ้าของ โครงการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และระเบียบของแหล่งเงินกู้นั้น (ข้อ 15) 2. สำนักงบประมาณจัดส่งข้อมูลแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินกู้ต่อ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อประกอบการจัดหา เงินกู้ (ข้อ 15 (2)) 3. หน่วยงานเจ้าของโครงการมีหน้าที่จัดส่งประมาณการการเบิกจ่ายเงินกู้เป็น รายเดือนให้แก่สำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ (ข้อ 15 (3)) 4. การจัดหาพัสดุในการดำเนินโครงการ หน่วยงานเจ้าของโครงการต้อง ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 หรือระเบียบ ข้อบังคับของ หน่วยงานเจ้าของโครงการ แล้วแต่กรณี หน่วยงานสามารถดำเนินการ จัดหาพัสดุได้ทันทีที่โครงการได้รับอนุมัติและสามารถลงนามในสัญญาได้ เมื่อได้รับการจัดสรรวงเงินกู้แล้วเท่านั้น (ข้อ 16)
การบริหารและจัดการการกู้เงิน และการเบิกจ่ายเงินกู้ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 การบริหารและจัดการการกู้เงิน และการเบิกจ่ายเงินกู้ 1. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะมีหน้าที่จัดหาเงินกู้ ดำเนินการกู้เงิน และบริหารจัดการเงินกู้ (ข้อ 19) 2. กระทรวงการคลังอาจกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการเงินกู้ เพื่อให้สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะดำเนินการ (ข้อ 22) 3. ในการเบิกจ่ายเงินกู้ หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องปฏิบัติตาม ระเบียบการเบิกจ่ายเงินของทางราชการและหลักเกณฑ์หรือวิธีปฏิบัติที่ กระทรวงการคลังกำหนด เว้นแต่ การกู้เงินเพื่อใช้ในโครงการใด โดยเฉพาะ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะจะกำหนดให้หน่วยงาน เจ้าของโครงการเบิกจ่ายจากแหล่งเงินกู้โดยตรงก็ได้ โดยให้หน่วยงาน เจ้าของโครงการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการของแหล่งเงินกู้ (ข้อ 20 และ ข้อ 21) 4. สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ มีหน้าที่ประสานงานหน่วยงานเจ้าของโครงการเพื่อเร่งรัดการ ดำเนินงาน ติดตามความก้าวหน้าในการเบิกจ่ายเงินกู้ และเสนอแนะ แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของ หน่วยงานเจ้าของโครงการในส่วนที่เกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินกู้ ต่อ กบอ. หรือ กยอ. แล้วแต่กรณี (ข้อ 23)
การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ 1. กรณีเป็นสาระสำคัญและกระทบต่อกรอบวงเงินที่ได้รับอนุมัติ หน่วยงานเจ้าของโครงการเสนอคำขอดังกล่าวพร้อมเหตุผลความ จำเป็นต่อ สบอช. หรือสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ เพื่อนำเสนอต่อ กบอ. หรือ กยอ. แล้วแต่กรณี เพื่อทำความเห็นประกอบการพิจารณาอนุมัติของคณะรัฐมนตรี (ข้อ 17(1)) หน่วยงานเจ้าของโครงการเสนอคำขอดังกล่าวพร้อมเหตุผลความ จำเป็นต่อ สบอช. หรือสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ เพื่อนำเสนอต่อ กบอ. หรือ กยอ. พิจารณา อนุมัติ แล้วแต่กรณี (ข้อ 17 (2)) หน่วยงานเจ้าของโครงการเสนอคำขอดังกล่าวต่อสำนักงบประมาณ และเมื่อสำนักงบประมาณพิจารณาอนุมัติแล้ว ให้รายงานต่อ กบอ. หรือ กยอ. เพื่อทราบ แล้วแต่กรณี 2. กรณีเป็นสาระสำคัญ แต่ไม่กระทบต่อกรอบวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 3. กรณีที่ไม่เป็นสาระสำคัญและไม่กระทบต่อกรอบวงเงินที่ได้รับอนุมัติ
การติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินการ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารโครงการและการใช้จ่ายเงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 การติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินการ 1. สำนักงานปลัดกระทรวงการคลังวางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโครงการ เพื่อสนับสนุนการติดตามความก้าวหน้า ในการดำเนินโครงการ การ เบิกจ่ายเงิน และการประเมินผลโครงการ 2. หน่วยงานเจ้าของโครงการรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการ และการใช้จ่ายเงินกู้ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโครงการ ตาม หลักเกณฑ์และระยะเวลาที่กระทรวงการคลังกำหนด 3. สบอช. และ สศช. เร่งรัดการดำเนินงานให้เป็นไปตามโครงการที่ได้รับ อนุมัติ ติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงาน เสนอแนะแนวทางการ แก้ไขปัญหาอุปสรรค รวมทั้งประเมินผลสัมฤทธิ์และผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ในภาพรวมของโครงการต่อ กบอ. หรือ กยอ. (ข้อ 24 และข้อ 25) 1. กรณีที่ กบอ. หรือ กยอ. เห็นว่ามีความจำเป็นต้องจัดสรรเงินเหลือจ่าย ให้แก่โครงการอื่น (ข้อ 26) 2. กรณีที่ต้องดำเนินโครงการขึ้นใหม่ หรือ หน่วยงานเจ้าของโครงการ ประสงค์จะเสนอโครงการใหม่เพิ่มเติม 3. กรณีที่สำนักงบประมาณเห็นควรพิจารณาจัดสรรจำนวนเงินจากวงเงินเหลือ จ่ายของโครงการที่หน่วยงานเจ้าของโครงการประสงค์จะชดเชยค่างาน ก่อสร้างตามสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K) และเสนอขออนุมัติต่อ สำนักงบประมาณ (ข้อ 27) การใช้เงินเหลือจ่าย
คณะรัฐม นตรี
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานเจ้าของโครงการ เสนอโครงการที่สอดคล้องกับแผนแม่บททรัพยากรน้ำต่อ กบอ. หรือโครงการตามยุทธศาสตร์ที่ กยอ. กำหนด ภายในระยะเวลาที่ กบอ. หรือ กยน. กำหนด จัดทำรายละเอียดโครงการและวงเงินการใช้จ่ายที่ขอรับการจัดสรรจากเงินกู้ตามนโยบายที่ กนอช./กบอ./กยอ. กำหนด การเสนอโครงการ ส่งแผนการดำเนินงาน/แผนการใช้จ่ายเงินต่อสำนักงบประมาณ จัดหาพัสดุตามระเบียบพัสดุฯ ที่เกี่ยวข้อง จัดทำประมาณการเบิกจ่ายเงินกู้รายเดือนส่ง สบน. รายงานผลการดำเนินงาน/การเบิกจ่ายเงินตามระบบ PFMS – FRP เสนอคำขอโอนเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ สาระสำคัญ : สบอช./สศช. ไม่ใช่สาระสำคัญ : สงป. การดำเนินการ จัดเตรียมข้อมูลประกอบการติดตามประเมินผลโครงการ การติดตามโครงการ
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงานนโยบายและบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ (สบอช.) ประสานงานหน่วยงานเจ้าของโครงการจัดทำรายละเอียดโครงการและวงเงินการใช้จ่ายที่ขอรับการจัดสรรจากเงินกู้ตามแผนปฏิบัติการของ กบอ. ที่ ค.ร.ม. อนุมัติไว้ พิจารณากลั่นกรองรายละเอียดโครงการในฐานะฝ่ายเลขานุการ กบอ. เสนอ กนอช. และ ค.ร.ม. เพื่ออนุมัติ การเสนอโครงการ แจ้งผลการอนุมัติโครงการจาก ค.ร.ม. แก่หน่วยงานเจ้าของโครงการ/ สงป./สบน. พิจารณาคำขอโอนเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการที่เป็นสาระสำคัญและเสนอ กบอ. และ ค.ร.ม. อนุมัติ การดำเนินการ ประสานกับหน่วยงานเจ้าของโครงการ เพื่อเร่งรัดการดำเนินงานและติดตามความก้าวหน้า รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา/อุปสรรค ต่อ กบอ. ประเมินผลโครงการ (รวมผลสัมฤทธิ์และผลกระทบต่อเศรษฐกิจในภาพรวม) และนำเสนอต่อ กบอ. การติดตามโครงการ
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประสานกับหน่วยงานเจ้าของโครงการให้จัดทำรายละเอียดของโครงการและวงเงินการใช้จ่ายที่ขอรับการจัดสรรจากเงินกู้ต่อ กยอ. ภายในเวลาที่ กยอ. กำหนด เพื่อพิจารณากลั่นกรองแล้วเสนอ กยอ. และ ค.ร.ม. พิจารณาอนุมัติ การเสนอโครงการ แจ้งมติ ค.ร.ม. ต่อ สงป./สบน. เพื่อจัดสรรเงินกู้/จัดหาเงินกู้ สำหรับโครงการตามแผน กยอ. พิจารณาคำขอโอนเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการที่เป็นสาระสำคัญและเสนอ กยอ. และ ค.ร.ม. อนุมัติ การดำเนินการ ประสานกับหน่วยงานเจ้าของโครงการ เพื่อเร่งรัดการดำเนินงานและติดตามความก้าวหน้า รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา/อุปสรรค ต่อ กยอ. ประเมินผลโครงการ (รวมผลสัมฤทธิ์และผลกระทบต่อเศรษฐกิจในภาพรวม) และนำเสนอต่อ กยอ. การติดตามโครงการ
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงบประมาณ การเสนอโครงการ พิจารณาความซ้ำซ้อนของโครงการกับคำของบประมาณประจำปี (กนอช.) จัดทำระบบ e–budget เพื่อรองรับข้อมูลแผนปฏิบัติงาน/แผนการเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานเจ้าของโครงการ (EVMIS) ส่งข้อมูลแผนปฏิบัติการ/แผนการเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานให้แก่ สบน. จัดทำรหัสงบประมาณให้สอดคล้องกับโครงการของหน่วยงานเจ้าของโครงการ จัดสรรวงเงินให้แก่หน่วยงานเจ้าของโครงการ พิจารณาคำขอโอนเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการที่ไม่ใช่สาระสำคัญและรายงาน กยอ./กบอ. เพื่อทราบ การดำเนินการ เร่งรัดการดำเนินโครงการ และติดตามความก้าวหน้าในการเบิกจ่ายเงินกู้ การติดตามโครงการ -
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ - การเสนอโครงการ พิจารณาแผนการดำเนินงาน/แผนการใช้จ่ายเงินของหน่วยงาน เพื่อจัดหาเงินกู้ให้สอดคล้องกับกำหนดการใช้จ่ายเงินของหน่วยงาน เปิดบัญชีเงินนอกงบประมาณ “บัญชีเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ” ที่กรมบัญชีกลาง บรรจุวงเงินกู้ในแผนบริหารหนี้สาธารณะประจำปีงบประมาณ พิจารณาวงเงินกู้และนำเสนอคณะทำงานกู้เงินฯ บริหารจัดการเงินสดในบัญชี “บัญชีเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำและสร้างอนาคตประเทศ” ปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ให้สอดคล้องกับความสามารถในการชำระหนี้ของรัฐบาล การดำเนินการ เร่งรัดการดำเนินโครงการ และติดตามความก้าวหน้าในการเบิกจ่ายเงินกู้ (จากระบบ PFMS – FRP และ GFMIS) การติดตามโครงการ หมายเหตุ : สป.กค. จัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรายงานผลการดำเนินโครงการและการเบิกจ่ายเงินของ พ.ร.ก.ฯ ร่วมกับงบกลาง 120,000 ลบ. ด้วยระบบ PFMS - FRP 24
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมบัญชีกลาง การเสนอโครงการ จัดทำรหัส GFMIS โครงการเพื่อ Mapping กับรหัสงบประมาณของ สำนักงบประมาณ รับฝากเงินกู้ในบัญชี “บัญชีเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน้ำ และสร้างอนาคตประเทศ” ในบัญชีเงินคงคลังที่ 1 จัดเตรียมระบบการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ จัดเตรียมระบบการเบิกจ่าย GFMIS เบิกจ่ายเงินให้แก่หน่วยงานเจ้าของโครงการ นำส่งข้อมูลการเบิกจ่ายเงินตามระบบ GFMIS ไปยังระบบ PFMS– FRP การดำเนินการ เร่งรัดการดำเนินโครงการ และติดตามความก้าวหน้าในการเบิกจ่ายเงินกู้ การติดตามโครงการ - ทำความ เข้าใจกับ หน่วยงาน