วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สป./กรม สปสช. สสข.*(New) กสธ.ส่วนกลาง เครือข่ายบริการ คปสข. National Health Service Delivery Board สป./กรม สปสช. National Health Authority : Strategic.
Advertisements

พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
กระบวนการแสวงหาความรู้
Work Study: Its History
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
สมศักดิ์ อาภาศรีทองสกุล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
ประเด็น แหล่งทุน โครงการวิจัย ระบบการดูแลผู้สูงอายุ วช.
การวัดและประเมินผลการศึกษา
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
การจัด กระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
โดย พระมหาปรีชา ปภสฺสโร พระวิทยากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
คู่มือคุณภาพ Quality Manual
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
Professor Sudaduang Krisdapong Department of Community Dentistry,
25/02/62 Equality Human dignity Human Rights Pitak kerdhom.
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
ทิศทางการบริหารจัดการยุทธศาสตร์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
Click to edit Master title style
อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม
ความสำคัญ บทบาท ประเภท ของการวาดเส้น
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
ข้อกำหนดทางธุรกิจในยุคดิจิตอล
การวิเคราะห์กิจการเพื่อการวางแผน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
กรอบแนวคิด “คุณภาพชีวิต” Conceptual Framework for “Quality of Life”
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
Educational Standards and Quality Assurance
การดำเนินงานไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค.61)
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
ในการทำประกันคุณภาพการศึกษา รศ.พญ. อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์
Review - Techniques of Environmental Law
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
คิดบวก ชีวิตบวก Positive Thinking, Positive Life
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
Happy work place index & Happy work life index
๑. แนะนำหนังสือ ๑.๑ กษัตริย์นักพัฒนา. สำนักงาน กปร. กรุงเทพฯ : ๒๕๕๓.
เทคนิคการทำวิจัยสถาบัน
“ธาตุหายาก” คืออะไร. กรณีศึกษา ธาตุโลหะหายาก (Rare-Earth Elements) Environment, Technology & Life.
ชีวิตคริสเตียนที่สมดุล ตอนที่ 1: เข้าใจความสมดุล
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
ข้อมูลทั่วไป สถานะสุขภาพ ทรัพยากรสาธารณสุข การบริหารจัดการ.
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
ภาควิชาทันตกรรมทั่วไปขั้นสูง
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
การรายงานผลการดำเนินงาน
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ HR Planning
ดื่มด่ำ..กับความสุข..ชั้นบรรยากาศ
บ่อเกิดแห่งสิทธิประเภทของสิทธิเสรีภาพสิทธิมนุษยชน สิทธิพลเมือง
Management Review Based On ISO 9001 : 2008
เกษตรอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

001232 วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต (Fundamental Laws for Quality of Life) ผู้สอน รองศาสตราจารย์จิรประภา มา-กลิ่น “อตหิ อตโน นาโถ” “หิริ โอตัปปะ” “วิริเยนะ ทุกขะมัจเจติ” 04/04/2019 มีไว้ใช้เพื่อการเรียนการสอนเท่านั้น

กฎหมายสูงสุดของประเทศคือ..กฎหมายอะไร? กฎหมายคือ... กฎหมายสูงสุดของประเทศคือ..กฎหมายอะไร? ทำไมต้องมี...สูงสุดของประเทศ..? สำคัญอย่างไร ?(ศักดิ์ของกฎหมาย) เห็นด้วยหรือไม่ ที่ต้องมีกฎหมาย? 04/04/2019

กฎหมายมีลักษณะทั่วไป *๕ ประการคือ ต้องเป็นคำสั่ง หรือข้อบังคับ เป็นคำสั่ง หรือข้อบังคับที่มาจากรัฎฐาธิปัตย์ เป็นคำสั่ง หรือข้อบังคับ ที่ใช้ได้ ทั่วไป บัญญัติขึ้นเพื่อให้บุคคลปฏิบัติตาม มีสภาพบังคับ 04/04/2019

รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ กม สูงสุดของประเทศ พระราชบัญญัติ ตราขึ้นโดยพระมหากษัตริย์ ตามคำแนะนำยินยอมของรัฐสภา พระราชกำหนด ตราขึ้นโดยพระมหากษัตริย์ โดยคำแนะนำยินยอมของคณะรัฐมนตรี.... 04/04/2019

พระราชกฤษฎีกา ตราขึ้นโดยพระมหากษัตริย์ตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี กฎกระทรวง ตราขึ้นโดยรัฐมนตรีประจำกระทรวง กฎหมายที่ตราขึ้นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่นข้อบังคับ ข้อบัญญัติต่างๆ 04/04/2019

ความแตกต่างระหว่างความผิดทางแพ่งและอาญา ตัวอย่าง กรณี การกระทำละเมิด ข้อสังเกต ความผิดทางแพ่ง ๑.คำนึงถึงการเกิดความเสียหาย ๒.ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น(ความเสียหายที่เกิดขึ้น)” 04/04/2019

ข้อสังเกตหลักๆ ถ้าเป็นความผิดทางอาญา (จะแตกต่างจากความผิดทางแพ่ง) ๑ เป็นเรื่องที่มุ่งถึงความสงบสุข ความมั่นคงในสังคม เป็นสำคัญ ๒.มีโทษ(หนักไปหาเบาสุด) ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน 04/04/2019

ตัวอย่าง ความผิดทางแพ่ง เช่น มาตรา ๔๒๐“ผู้ใด/จงใจ/หรือ/ประมาทเลินเล่อ /ทำ/ต่อบุคคลอื่น/โดยผิดกฎหมาย/ให้เขาเสียหาย/ถึงแก่ชีวิตก็ดี /แก่ร่างกายก็ดี /อนามัยก็ดี /เสรีภาพก็ดี /ทรัพย์สิน/หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี /ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น” 04/04/2019

วิธีการฝึกพิจารณาว่ากระทำความผิดทางแพ่ง เช่น กรณีกระทำละเมิด ตาม ม.420 กรณีความผิดทางแพ่ง สามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้ ดังนี้ คือ อันดับแรก ให้พิจารณาถึงองค์ประกอบภายนอก และองค์ประกอบภายใน ? คือ? 04/04/2019

คำถาม หรือข้อเท็จจริง อ.หมู ขับรถยนต์ด้วยความเร็วสูงชน นส. เย็นฤดี ขาหัก อ.หมูกระทำผิดฐานละเมิด ตาม ม.420หรือไม่ และต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหาย หรือไม่ อย่างไร? 04/04/2019

3.วัตถุแห่งการกระทำ (สิ่งที่ถูกกระทำ) ....นส. เย็นฤดี (ขาหัก) องค์ประกอบภายนอก 1.ผู้กระทำ .....อ หมู 2.การกระทำ.....ขับรถยนต์ ชน.. 3.วัตถุแห่งการกระทำ (สิ่งที่ถูกกระทำ) ....นส. เย็นฤดี (ขาหัก) 04/04/2019

องค์ประกอบภายใน ..ภายในไหน..ภายในใจเรา คือ?กระทำ โดย.. จงใจ (ต่าง กับเจตนา ตาม ปอ ม.59 วรรค 2 หรือไม่ อย่างไร?) หรือ ประมาทเลินเล่อ (ปอ. ม.59 วรรค 4 นำมาปรับใช้โดยอนุโลม ?) 04/04/2019

การกระทำโดยงดเว้น(ต้องมีหน้าที่ฯให้กระทำด้วย)....มีอะไรบ้าง? คำว่า กระทำ คือ? ปอ. 59 วรรคท้าย “การกระทำ/ ให้หมายความรวมถึง การให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้นโดยงดเว้น การที่จักต้องกระทำเพื่อป้องกันผลนั้นด้วย” การกระทำโดยงดเว้น(ต้องมีหน้าที่ฯให้กระทำด้วย)....มีอะไรบ้าง? 04/04/2019

1.กระทำตามหน้าที่ โดยกฎหมายกำหนดให้กระทำ เช่น พ่อแม่ต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตร ซึ่งเป็นผู้เยาว์ 2.กระทำตามหน้าที่ อันเกิดจากความสัมพันธ์ครั้งก่อน เช่น ช่วยคนตาบอด คนชราข้ามถนน 3.กระทำโดยงดเว้นไม่กระทำตามหน้าที่ ในฐานะผู้มีวิชาชีพ เช่น หมอ พยาบาลต้องดูแลคนไข้ ครูสอนว่ายน้ำ 04/04/2019

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรค 2 (นำมาปรับใช้โดยอนุโลม) “กระทำโดย เจตนา ได้แก่กระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำ และในขณะเดียวกัน เช่น?ผู้กระทำประสงค์ต่อผล หรือ ย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้น”คือ? อย่างไร?เช่น? 04/04/2019

มาตรา 59 วรรค 4 “กระทำโดยประมาท ได้แก่ กระทำความผิด มิใช่ โดยเจตนา แต่กระทำ โดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น จักต้องมีตามวิสัย และพฤติการณ์ และผู้กระทำ อาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่” คือ….? อย่างไร..? เช่น ? 04/04/2019

กรณีพิจารณา ว่า การกระทำใดเป็นความผิดอาญา หรือไม่ อย่างไร? วิธีฝึกพิจารณาด้วยตนเอง เบื้องต้น ต้องพิจารณา องค์ประกอบภายนอก และองค์ประกอบภายใน ของความผิดนั้นๆว่าครบองค์ประกอบ หรือไม่ อย่างไร? ข้อสังเกตและข้อควรจำ จะเห็นว่า วิธีการพิจารณา เหมือนๆกับความผิดทางแพ่ง 04/04/2019

2.การกระทำ (รวมถึงการงดเว้นไม่กระทำตามหน้าที่ฯ) 3.วัตถุแห่งการกระทำ องค์ประกอบภายนอก 1.ผู้กระทำ 2.การกระทำ (รวมถึงการงดเว้นไม่กระทำตามหน้าที่ฯ) 3.วัตถุแห่งการกระทำ องค์ประกอบภายใน เจตนา ประมาท ไม่เจตนา หลักการพิจารณาหลักเหมือนๆกับการกระทำผิดทางแพ่ง 04/04/2019

ตัวอย่าง เช่น กรณีทำร้ายร่างกายผู้อื่นมาตรา ๒๙๕ “ผู้ใด/ทำร้าย/ผู้อื่น/จนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กาย/หรือจิตใจของผู้อื่น ผู้นั้นกระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกาย ต้องระวางโทษ...” 04/04/2019

การกระทำนี้ องค์ประกอบภายใน คือ กระทำโดยเจตนา คือ? อย่างไร? ข้อสังเกต ข้อควรจำ การกระทำนี้ องค์ประกอบภายใน คือ กระทำโดยเจตนา คือ? อย่างไร? ดู ตาม มาตรา 59 วรรคหนึ่ง (นำมาปรับใช้โดยอนุโลม) 04/04/2019

ปอ.อาญา ม.59 วรรคหนึ่ง “ บุคคลจะต้อง “รับผิด” ในทางอาญา ก็ต่อเมื่อได้กระทำโดยเจตนา เว้นแต่ จะได้กระทำโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิดเมื่อได้กระทำโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิด แม้ได้กระทำโดยไม่มีเจตนา” 04/04/2019

ป.อาญา มาตรา 290 “ผู้ใด/มิได้มีเจตนาฆ่า แต่ทำร้าย/ผู้อื่น จนเป็นเหตุให้ผู้นั้น ถึงแก่ความตาย ...ต้องระวางโทษ...” 04/04/2019

ป. อาญา มาตรา ๓๐๐ “ผู้ใด/กระทำโดยประมาทและการกระทำ/นั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษ..........” 04/04/2019

ป.อาญา มาตรา ๓๕๘ “ผู้ใด/ทำให้เสียหาย ทำลาย ทำให้เสื่อมค่าหรือทำให้ไร้ประโยชน์ ซึ่ง ทรัพย์/ของผู้อื่น หรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย ผู้นั้นกระทำความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ต้องระวางโทษ...” 04/04/2019

มาตรา ๓๖๑ “ความผิดตามมาตรา ๓๕๘ และมาตรา ๓๕๙ เป็นความผิดอันยอมความได้” 04/04/2019

ป.อาญา ข้อสังเกต ข้อควรจำ อายุความในการร้องทุกข์ สำหรับความผิดอันยอมความได้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 96 .... มีกำหนดเวลาสามเดือน นับแต่วันที่ผู้เสียหายรู้เรื่องความผิด และรู้ตัวผู้กระทำความผิดประกอบกันทั้งสองประการ 04/04/2019

ข้อสังเกต ให้สังเกตด้วยว่า. บางกรณีอาจมีความผิดได้ ทั้งทางแพ่งและอาญา ข้อสังเกต ให้สังเกตด้วยว่า.. บางกรณีอาจมีความผิดได้ ทั้งทางแพ่งและอาญา..ได้ แม้กระทำในเรื่องเดียวกัน ถ้าหากเข้าองค์ประกอบที่กฎหมายเหล่านั้น กำหนดไว้ ตัวอย่าง กรณีศึกษา เช่น อาจารย์หมู/ขับรถชน/นางสาวเย็นฤดีขาหัก .......ผิดอะไร อย่างไรบ้าง? 04/04/2019

กรณีนี้ ผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตาม ม.358 หรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด? หรือ กรณีศึกษา เช่น นิสิต ก. เหม็นขี้หน้า นิสิต ข. นิสิต ก. (ผู้กระทำ)/จึงได้ชกและตบตี (ทำร้ายร่างกาย)(การกระทำ)/นิสิต ข จนแขนและฟันเกือบหัก(วัตถุแห่งการกระทำ) ผิดอะไร อย่างไร? และหากกรณีนี้ปรากฏว่า ระหว่างที่นิสิต ก/ตบตี/นิสิต ข นั้น....... มือของนิสิต ก./ ไปเกี่ยวโดนสร้อยคอ/ของ นิสิต ข. คู่กรณีขาด โดยบังเอิญ.. เช่น นี้ นิสิต ก. ผิดอะไร อย่างไร? กรณีนี้ ผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ตาม ม.358 หรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด? 04/04/2019

ลักษณะของสัญญา ยืม (ไม่มีแบบ) ? มี 2 ประเภท ยืมใช้คงรูป มาตรา 640 อันว่ายืมใช้คงรูปนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้ให้ยืม”ให้บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ผู้ยืม”ใช้สอยทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่า และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้น เมื่อได้ใช้สอยเสร็จแล้ว” 04/04/2019

ผศ.จิรประภา มากลิ่น คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มาตรา ๖๕๐“ยืมใช้สิ้นเปลือง คือสัญญาซึ่งผู้ให้ยืม/ โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน /ชนิดใช้ไปสิ้นไปนั้น/เป็นปริมาณมีกำหนดให้ไปแก่ผู้ยืม /และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินเป็นประเภท ชนิดและปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินซึ่งให้ยืมนั้น” 04/04/2019 ผศ.จิรประภา มากลิ่น คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

หมายความว่าอะไร อย่างไร? มาตรา ๖๕๓ “การกู้ยืมเงิน กว่าสองพันบาทขึ้นไป ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสำคัญ จะฟ้องร้องบังคับคดีหาได้ไม่(ไม่ได้) ......................” หมายความว่าอะไร อย่างไร? 04/04/2019

.... วรรค 2 ..ในการกู้ยืมเงินมีหลักฐานเป็นหนังสือ จะนำสืบการใช้เงินต่อเมื่อมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้ยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมได้เวนคืนแล้ว หรือได้แทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแล้ว” 04/04/2019

กรณีศึกษา -กู้ยืมเงิน ไม่มีหลักประกัน มีผลอย่างไร? จำเป็นต้องมีหลักประกัน หรือไม่ อย่างไร? -กู้ยืมเงิน ที่มีหลักประกัน มีผลดี ผลเสีย หรือไม่ อย่างไร อะไรคือหลักประกันที่ดี? 04/04/2019

ลักษณะสัญญาค้ำประกัน ไม่มีแบบ สัญญาเกิดขึ้นเมื่อไหร่? มาตรา ๖๘๐“ อันว่าค้ำประกันนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้ค้ำประกัน /ผูกพันตนต่อเจ้าหนี้คนหนึ่ง/ เพื่อชำระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้นั้น วรรค 2..................” หน้าถัดไป.. 04/04/2019

หลักฐานเป็นหนังสือ คืออะไร อย่างไร? สำคัญแค่ไหน อย่างไร? วรรค 2 อนึ่ง สัญญาค้ำประกัน ถ้ามิได้มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่ง ลงลายมือชื่อผู้ค้ำประกันเป็นสำคัญ ท่านว่าจะฟ้องร้องให้บังคับคดีหาได้ไม่ (ฟ้องไม่ได้)” หลักฐานเป็นหนังสือ คืออะไร อย่างไร? สำคัญแค่ไหน อย่างไร? 04/04/2019

มาตรา ๗๐๒ “อันว่าจำนอง คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่าผู้จำนอง เอาทรัพย์สิน(มาตรา ๗๐๓) “ตรา”(ดู มาตรา ๗๑๔)ไว้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับจำนอง เป็นประกันการชำระหนี้ โดย ไม่ส่งมอบทรัพย์สิน (กรรมสิทธิ์ยังอยู่ที่ผู้จำนอง โอนไปยังคนอื่นสิทธิจำนองก็ตกติดไปเสมอกับตัวทรัพย์ที่จำนองนั้น) นั้นให้แก่ผู้รับจำนอง…..” 04/04/2019

มาตรา 703 “อันอสังหาริมทรัพย์นั้นอาจจำนองได้ไม่ว่าประเภท ใด ๆ สังหาริมทรัพย์อันจะกล่าวต่อไปนี้ก็อาจจำนองได้ดุจกัน หากว่า ได้จดทะเบียนไว้แล้วตามกฎหมายคือ.............”(หน้าถัดไป) 04/04/2019

(ต่อ)(1) เรือกำปัน หรือเรือมีระวางตั้งแต่หกตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือ เรือยนต์มีระวางตั้งแต่ห้าตันขึ้นไป (2) แพ (3) สัตว์พาหนะ (4) สังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ซึ่งกฎหมายหากบัญญัติไว้ให้จดทะเบียน เฉพาะการ..” 04/04/2019

ลักษณะสำคัญของสัญญาจำนำ –ไม่มีแบบ สัญญาเกิดขึ้น เมื่อ... ? มาตรา ๗๔๗ “อันว่าจำนำนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนำ” /ส่งมอบ “สังหาริมทรัพย์” สิ่งหนึ่ง/ให้แก่ บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับจำนำ”/ เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้.....” 04/04/2019

กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาคือ....? อย่างไร? ..กฎหมายอะไรบ้าง...ทราบหรือไม่? 04/04/2019

มาตรา ๑๓๗ “ทรัพย์หมายความว่า...วัตถุมีรูปร่าง” มาตรา ๑๓๘ “ทรัพย์สิน หมายรวมทั้งทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้” มีความใหม่ มีการแสดงออกซึ่งความคิด เมื่อได้รับการคุ้มครองฯเจ้าของ หรือผู้สร้างสรรค์ย่อมมีสิทธิแต่เพียงผู้เดียว(มาตรา ๑๕) 04/04/2019

เครื่องหมายการค้าคือ........? ลิขสิทธิ์คือ....? สิทธิบัตรคือ.....? เครื่องหมายการค้าคือ........? กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาในประเทศไทยมีกฎหมายอะไรบ้าง...? 04/04/2019

การคุ้มครองลิขสิทธิ์ก็น่าจะด้วยเหตุผลหลายประการด้วยกัน แต่สิ่งที่เป็นเหตุผลสำคัญก็น่าจะเนื่องจากเหตุผล 3 ประการดังต่อไปนี้คือ 2.1.เหตุผลทางด้านความเป็นธรรมตามธรรมชาติ 2.2.เหตุผลทางด้านเศรษฐกิจ 2.3.เหตุผลทางสังคม 04/04/2019

มาตรา 6 งานอันมีลิขสิทธิ์ตาม พระราชบัญญัตินี้ ได้แก่ งานสร้างสรรค์ประเภทวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะของผู้สร้างสรรค์ไม่ว่างานดังกล่าวจะแสดงออกโดยวิธีหรือรูปแบบอย่างใด..... 04/04/2019

การคุ้มครองลิขสิทธิ์ ไม่คลุมถึงความคิด หรือขั้นตอน กรรมวิธี หรือระบบ หรือวิธีใช้หรือทำงาน หรือแนวความคิด หลักการ การค้นพบ หรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ 04/04/2019

มาตรา 7 สิ่งต่อไปนี้ ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ (1) ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสารอันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ...... 04/04/2019

(2) รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย (3) ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น (4) คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ..... 04/04/2019

(5) คำแปลและการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่นจัดทำขึ้น 04/04/2019

(2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน (3)................. มาตรา 15 ภายใต้บังคับมาตรา 9 มาตรา 10 และมาตรา 14 เจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมมีสิทธิแต่ผู้เดียว (Exclusive rights)ดังต่อไปนี้ (1) ทำซ้ำหรือดัดแปลง (2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน (3)................. 04/04/2019

4) ให้ ประโยชน์ อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น (3) ให้เช่าต้นฉบับ หรือสำเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง 4) ให้ ประโยชน์ อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น (5) อนุญาตให้ผู้อื่น ใช้สิทธิตาม (1) (2) หรือ (3) โดยจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใด หรือไม่ก็ได้ แต่เงื่อนไขดังกล่าวจะกำหนดในลักษณะที่เป็นการจำกัดการแข่งขันโดยไม่เป็นธรรมไม่ได้” 04/04/2019

มาตรา 32 การกระทำแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์ และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร มิให้ถือว่า เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์...........

(1) วิจัย หรือศึกษางานนั้น อันมิใช่การกระทำเพื่อหากำไร ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่ง มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทำดังต่อไปนี้ (1) วิจัย หรือศึกษางานนั้น อันมิใช่การกระทำเพื่อหากำไร (2) ใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือเพื่อประโยชน์ของตนเอง และบุคคลอื่นในครอบครัว หรือญาติสนิท ……................... 04/04/2019

...... (3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนำผลงาน โดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น……... (6) ทำซ้ำ ดัดแปลง นำออกแสดง หรือทำให้ปรากฏ โดยผู้สอน เพื่อประโยชน์ในการสอนของตน อันมิใช่การกระทำเพื่อหากำไร 04/04/2019

(8) นำงานนั้นมาใช้เป็น ส่วนหนึ่ง ในการถาม และตอบในการสอบ (7) ทำซ้ำ ดัดแปลงบางส่วนของงาน หรือตัดทอน หรือทำบทสรุปโดยผู้สอน หรือสถาบันศึกษา เพื่อแจกจ่ายหรือจำหน่ายแก่ผู้เรียนในชั้นเรียนหรือในสถาบันศึกษา ทั้งนี้ ต้องไม่เป็นการกระทำเพื่อหากำไร (8) นำงานนั้นมาใช้เป็น ส่วนหนึ่ง ในการถาม และตอบในการสอบ 04/04/2019

สิทธิบัตร มาตรา ๓ในพระราชบัญญัตินี้ "สิทธิบัตร" หมายความว่า หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามที่กำหนดในหมวด ๒ และหมวด ๓ แห่งพระราชบัญญัตินี้ "อนุสิทธิบัตร" หมายความว่า หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ ตามที่กำหนดในหมวด ๓ ทวิ แห่งพระราชบัญญัตินี้ 04/04/2019

"การประดิษฐ์" หมายความว่า การคิดค้น หรือคิดทำขึ้น อันเป็นผลให้ ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์หรือกรรมวิธีใดขึ้นใหม่ หรือการกระทำใด ๆ ที่ทำให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์ หรือกรรมวิธี ....................... 04/04/2019

"กรรมวิธี" หมายความว่า วิธีการ กระบวนการ หรือกรรมวิธีในการผลิต หรือการเก็บรักษาให้คงสภาพ หรือให้มีคุณภาพดีขึ้น หรือการปรับสภาพให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์ และรวมถึงการใช้กรรมวิธีนั้น ๆ ด้วย ............... 04/04/2019

"แบบผลิตภัณฑ์" หมายความว่า รูปร่างของผลิตภัณฑ์ หรือองค์ประกอบ ของลวดลาย หรือสีของผลิตภัณฑ์ อันมีลักษณะพิเศษสำหรับผลิตภัณฑ์ซึ่งสามารถใช้เป็นแบบสำหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมรวมทั้งหัตถกรรมได้.............. 04/04/2019

มาตรา ๕ ภายใต้บังคับมาตรา ๙ (หน้าถัดไป) การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้ต้องประกอบ ด้วยลักษณะดังต่อไปนี้ (๑) เป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ (๒) เป็นการประดิษฐ์ที่มีขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น และ (๓) เป็นการประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม 04/04/2019

มาตรา ๙ การประดิษฐ์ดังต่อไปนี้ไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติ (๑) จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติ สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืช (๒) กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (๓) ระบบข้อมูลสำหรับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ (๔) วิธีการวินิจฉัย บำบัด หรือรักษาโรคมนุษย์ หรือสัตว์ (๕) การประดิษฐ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดี อนามัยหรือสวัสดิภาพของประชาชน 04/04/2019

มาตรา ๓๖ ผู้ทรงสิทธิบัตรเท่านั้นมีสิทธิดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ สิทธิในการผลิต ใช้ ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย หรือนำเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตร (๒) ในกรณีสิทธิบัตรกรรมวิธี สิทธิในการใช้กรรมวิธีตามสิทธิบัตร ผลิตใช้ ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย หรือนำเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยใช้ กรรมวิธีตามสิทธิบัตร... 04/04/2019

ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับแก่ (๑) การกระทำใด ๆ เพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง หรือวิจัย ทั้งนี้ ต้องไม่ขัดต่อการใช้ประโยชน์ตามปกติของผู้ทรงสิทธิบัตร และไม่ทำให้เสื่อมเสียต่อประโยชน์อันชอบธรรมของผู้ทรงสิทธิบัตรเกินสมควร (๔) การกระทำใด ๆ เกี่ยวกับการขอขึ้นทะเบียนยา โดยผู้ขอมีวัตถุประสงค์ที่จะผลิต จำหน่าย หรือนำเข้าซึ่งผลิตภัณฑ์ยาตามสิทธิบัตร หลังจากสิทธิบัตร ดังกล่าวสิ้นอายุลง.... 04/04/2019

เครื่องหมายการค้า มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ "เครื่องหมาย" หมายความว่า ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ชื่อ คำ ตัวหนังสือ ตัวเลข ลายมือชื่อ หรือสิ่งเหล่านี้อย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายอย่างรวมกัน แต่ไม่หมายความรวมถึงแบบผลิตภัณฑ์ตามกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตร.... 04/04/2019

04/04/2019

"เครื่องหมายบริการ" หมายความว่า เครื่องหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายของเจ้าของเครื่องหมายบริการนั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น 04/04/2019

"เครื่องหมายรับรอง" หมายความว่า เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้ หรือจะใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองเกี่ยวกับแหล่งกำเนิด ส่วนประกอบวิธีการผลิต คุณภาพ หรือคุณลักษณะอื่นใดของสินค้านั้น หรือเพื่อรับรองเกี่ยวกับสภาพ คุณภาพ ชนิด หรือคุณลักษณะอื่นใดของบริการนั้น 04/04/2019

04/04/2019

04/04/2019

"เครื่องหมายร่วม" หมายความว่า เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้หรือจะใช้โดยบริษัทหรือวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกันหรือโดยสมาชิกของสมาคม สหกรณ์ สหภาพ สมาพันธ์ กลุ่มบุคคลหรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน................ 04/04/2019

04/04/2019

ผศ จิรประภา มากลิ่น คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มาตรา 6 เครื่องหมายการค้าอันพึงรับจดทะเบียนได้ ต้องประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้ (1) เป็นเครื่องหมายการค้าที่มีลักษณะบ่งเฉพาะ (2) เป็นเครื่องหมายการค้าที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัตินี้และ (3) ไม่เป็นเครื่องหมายการค้าที่เหมือน หรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าที่บุคคลอื่นได้จดทะเบียนไว้แล้ว 04/04/2019 ผศ จิรประภา มากลิ่น คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

เครื่องหมายการค้าที่มีลักษณะบ่งเฉพาะ ม.7 เครื่องหมายการค้าที่มีลักษณะบ่งเฉพาะ ได้แก่ เครื่องหมายการค้าอันมีลักษณะที่ทำให้ประชาชน หรือผู้ใช้สินค้านั้นทราบและเข้าใจได้ว่า สินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้านั้นแตกต่างไปจากสินค้าอื่น 04/04/2019

อย่างไร ที่ไม่เล็งถึงลักษณะ หรือคุณสมบัติของสินค้า? เครื่องหมายการค้าที่มี หรือประกอบด้วยลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งอันเป็นสาระสำคัญดังต่อไปนี้ ให้ถือว่ามีลักษณะบ่งเฉพาะ (๑) ชื่อตัว ชื่อสกุล.... ชื่อเต็มของนิติบุคคล..หรือชื่อลักษณะอันพึงรับจดทะเบียนในทางการค้าที่แสดงโดยลักษณะพิเศษ และไม่เล็งถึงลักษณะ หรือคุณสมบัติของสินค้าโดยตรง อย่างไร ที่ไม่เล็งถึงลักษณะ หรือคุณสมบัติของสินค้า? 04/04/2019

(๒) คำ หรือข้อความอันไม่ได้เล็งถึงลักษณะ หรือคุณสมบัติของสินค้านั้นโดยตรง และไม่เป็นชื่อทางภูมิศาสตร์ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดฯ Why? (๓) กลุ่มของสีที่แสดงโดยลักษณะพิเศษ หรือตัวหนังสือ ตัวเลข หรือคำที่ประดิษฐ์ขึ้น 04/04/2019

(๔) ลายมือชื่อ ของผู้ขอจดทะเบียน หรือของเจ้าของเดิมของกิจการของผู้ขอจดทะเบียน หรือลายมือชื่อของบุคคลอื่นโดยได้รับอนุญาตจากบุคคลนั้นแล้ว (๕) ภาพ ของผู้ขอจดทะเบียน หรือของบุคคลอื่นโดยได้รับอนุญาตจากบุคคลนั้นแล้ว หรือในกรณีที่บุคคลนั้นตายแล้วโดยได้รับอนุญาตจากบุพการี ผู้สืบสันดาน และคู่สมรสของบุคคลนั้น.. 04/04/2019

(๖) ภาพที่ประดิษฐ์ขึ้น ข้อสังเกต ชื่อ คำ หรือข้อความที่ไม่มีลักษณะตาม ((๑) หรือ (๒))....อันเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กม.ฉบับนี้กำหนดไว้ แต่.. หากได้มีการจำหน่ายเผยแพร่ หรือโฆษณา สินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้านั้นจนแพร่หลายแล้วฯ...ก็ให้ถือว่ามีลักษณะบ่งเฉพาะ 04/04/2019

เครื่องหมายการค้าที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม พรบ.นี้ ม.6 ประกอบ ม.8 (๑) ตราแผ่นดิน พระราชลัญจกร ลัญจกรในราชการ ตราจักรี ตราเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตราประจำตำาแหน่ง ตราประจากระทรวง ทบวง กรมหรือตราประจำจังหวัด (๒) ธงชาติของประเทศไทย ธงพระอิสริยยศ หรือธงราชการ (๓) พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย พระปรมาภิไธยย่อ พระนามาภิไธยย่อหรือนามพระราชวงศ์...... 04/04/2019

(๔) พระบรมฉายาลักษณ์ หรือพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ พระราชินีหรือรัชทายาท (๕) ชื่อ คำ ข้อความ หรือเครื่องหมายใด อันแสดงถึงพระมหากษัตริย์ พระราชินีรัชทายาท หรือพระราชวงศ์ 04/04/2019

(๗) เครื่องหมายราชการ เครื่องหมายกาชาด นามกาชาด หรือกาเจนีวา (๖) ธงชาติ หรือเครื่องหมายประจำชาติของรัฐต่างประเทศ ธงหรือ เครื่องหมายขององค์การระหว่างประเทศ ตราประจำประมุขของรัฐต่างประเทศ เครื่องหมายราชการและเครื่องหมายควบคุมและรับรองคุณภาพสินค้าของรัฐต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ หรือชื่อและชื่อย่อของรัฐต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ของรัฐต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศนั้น (๗) เครื่องหมายราชการ เครื่องหมายกาชาด นามกาชาด หรือกาเจนีวา 04/04/2019

(๘) เครื่องหมายที่เหมือน หรือคล้ายกับ เหรียญ ใบสำคัญ หนังสือรับรอง ประกาศนียบัตร หรือเครื่องหมายอื่นใดอันได้รับเป็นรางวัลในการแสดง หรือประกวดสินค้าที่รัฐบาลไทย ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐของประเทศไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศได้จัดให้มีขึ้น เว้นแต่ผู้ขอจดทะเบียนจะได้รับเหรียญ ใบสำคัญ หนังสือรับรอง ประกาศนียบัตร หรือเครื่องหมายเช่นว่านั้น เป็นรางวัลสาหรับสินค้านั้น และใช้เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องหมายการค้านั้น แต่ทั้งนี้ ต้องระบุปีปฏิทินที่ได้รับรางวัลด้วย (๙) เครื่องหมายที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือรัฐประศาสโนบาย 04/04/2019

(๑๑) เครื่องหมายที่คล้ายกับ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) (๑๐) เครื่องหมายที่เหมือนกับเครื่องหมายที่มีชื่อเสียงแพร่หลายทั่วไป ตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด หรือคล้ายกับเครื่องหมายดังกล่าว จนอาจทำให้สาธารณชนสับสนหลงผิดในความเป็นเจ้าของ หรือแหล่งกำเนิดของสินค้า ไม่ว่าจะได้จดทะเบียนไว้แล้ว หรือไม่ก็ตาม (๑๑) เครื่องหมายที่คล้ายกับ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) (๑๒) สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่ได้รับความคุ้มครอง ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น (๑๓) เครื่องหมายอื่นที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด 04/04/2019

เครื่องหมายการค้าอันพึงรับจดทะเบียนได้อีกประการ คือ ไม่เป็นเครื่องหมายการค้าที่เหมือน หรือคล้ายกับเครื่องหมายการค้าที่บุคคลอื่นได้จดทะเบียนไว้แล้ว เช่น สตาร์บัง คล้ายกับสตาร์บัคส์แบบนี้ไม่ได้ 04/04/2019