แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
MG415 Current Issues in Modern Management
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
WIND Work Improvement in Neighbourhood Development.
เปิดประชุมเวลา น. รายชื่อผู้เข้าประชุม.
นางยุภา พรเศรษฐ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนกันตังพิทยากร โรงแรมอินทรา รีเจนท์ กรุงเทพมหานคร การพัฒนาองค์ความรู้การบริหารจัดการ ห้องสมุดมีชีวิต และการขยายเครือข่ายห้องสมุดมีชีวิต.
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
KS Management Profile.
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
Training การฝึกอบรม.
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
Educational Technology & Instructional Technology
การจัดการองค์ความรู้
รายงานความก้าวหน้า งานบริหารและธุรการ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
Project based Learning
การดำเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานจัดการเรียนการสอน
QMT 3602 การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน/กลุ่มงานสู่ระดับบุคคล.
Learning Assessment and Evaluation
รายงานผลการวิจัย : ThaiView 26 กันยายน 2549.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
หลักเกณฑ์และวิธีการจัดเตรียมคำขอรับ สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพสุริยา(เทพสุริยา)
รายงานการปฏิบัติงาน งานบริหารและธุรการ ฤ
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
ประชุมเชิงปฏิบัติ การบริหารการเปลี่ยนแปลงกรมอนามัย มุ่งสู่องค์กรนำด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย วันที่
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
บทที่ 2 การวัด.
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
การสร้างและการบริหารเครือข่าย (เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริต)
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
13 October 2007
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
บทที่ 2 การวัด.
ส่วนของ ผู้ดูแลระบบ. ระบบการเรียนการสอนแบบ Interactive Model สำหรับ CSMA ด้วยเทคโนโลยี m-Learning.
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
ประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการคนพิการองค์การบริหารส่วนตำบลโจดหนองแก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี2551-2554 Vision : องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของชาวเขา ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงมียุทธศาสตร์ในการดำเนินการเพื่อมุ่งสู่วิสัยทัศน์ ของศูนย์ฯ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์คือ 1.ยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของชาวเขา 2.ยุทธศาสตร์พัฒนาองค์กร

องค์กรมีสมรรถนะที่เหมาะสม แผนที่เดินทางยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมชาวไทยภูเขา 2552-2555 ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพอนามัยที่เหมาะสม มีแกนนำด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ผลักดันให้มีการใช้ภูมิปัญญาชนเผ่าในการดูแลสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน สร้างบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย พัฒนาทักษะการประเมินตนเองทางด้านสุขภาพ ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีแผนงาน / โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีทักษะการทำงานเป็นทีม เกิดกิจกรรมสุขภาพร่วมกันในชุมชน ชุมชนสามารถจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชุมชนมีการจัดการการดูแลสุขภาพของตนเอง ชุมชนมีแผนสุขภาพชุมชน ผลักดันให้ชุมชนใช้สินทรัพย์ชุมชน (ABCD) เป็นฐานในการพัฒนา แสวงหาแหล่งทุน ชุมชนมีทักษะในการวิเคราะห์/ประเมินด้านสุขภาพ ชุมชนจัดการสุขภาพตามแผนสุขภาพชุมชน ชุมชนมีการเฝ้าระวังสุขภาพ สร้างเสริมทักษะชุมชนให้ประเมินตนเองด้านสุขภาพ ชุมชนมีการเฝ้าระวังสุขภาพตามบริบทของชนเผ่า ชุมชนมีระบบข้อมูลสุขภาพ ระดับประชาชน (Valuation) อบต. สสจ. สสอ. สอ. รพช. กศน. ศูนย์อนามัย มีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพชุมชน สนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมชาวเขา ผลักดันให้ใช้แผนสุขภาพชุมชน โดยใช้แนวคิดสินทรัพย์ชุมชน (ABCD) เป็นฐานในการพัฒนา สร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคีเครือข่าย บูรณาการงานร่วมกัน อบต. สสจ. สสอ. สอ. รพช. กศน. ศูนย์อนามัย มูลนิธิโครงการหลวง มีความรู้ความเข้าใจนำไปขยายผลในการพัฒนาสุขภาพชุมชน สร้างเครือข่ายวิชาการ พัฒนาองค์ความรู้ สร้างองค์กรต้นแบบ สร้างช่องทางการมีส่วนร่วมพัฒนาองค์ความรู้ และการนำไปใช้ ถ่ายทอดเทคโนโลยี เครือข่ายมีระบบข้อมูลเพื่อการเชื่อมโยง พัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพชาวเขา เร่งรัดให้มีการนำระบบรับฟังสู่การปฏิบัติ เครือข่ายมีการพัฒนาข้อมูลด้านสุขภาพที่ต่อเนื่อง ร่วมสร้างและใช้ระบบข้อมูล อบต. สสจ. สสอ. สอ. รพช. กศน. มูลนิธิโครงการหลวง สนับสนุนในการพัฒนาสุขภาพชุมชน สนับสนุนทรัพยากร สนับสนุนวิชาการ สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดระบบการจัดการ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล (Stakeholder) ระดับภาคี พัฒนา นวัตกรรม องค์ความรู้ สร้างนวัตกรรมและองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับวิถีชนเผ่า ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวบรวมองค์ความรู้และนวัตกรรม ถ่ายทอดนวัตกรรม องค์ความรู้ พัฒนาช่องทางของการจัดการความรู้ สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนากระบวนการถ่ายทอด เร่งรัดให้มีการนำระบบ M&E สู่การปฏิบัติ สนับสนุนการศึกษาดูงาน ระบบการจัดการและการสนับสนุนทรัพยากรที่ดี สร้างระบบการบริหารความสัมพันธ์เครือข่าย( CRM ) จัดหาทรัพยากรให้เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน เฝ้าระวังสุขภาพในกลุ่มประชากรเป้าหมาย นิเทศ ติดตามประเมินผล ผลิต สนับสนุนสื่อที่เหมาะสม ต่อเนื่อง สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ สร้างนวัตกรรมต้นแบบด้านสุขภาพ  พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบด้านสุขภาพ ค้นหานวัตกรรมชุมชนด้านสุขภาพ ระดับกระบวนการ (Management) ระบบฐานข้อมูลครบถ้วน ถูกต้องและทันสมัย พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล พัฒนาระบบข้อมูลเฝ้าระวังที่ทันสมัย ปรับปรุงคลังข้อมูลสุขภาพชาวไทยภูเขาให้ทันสมัย ประเมินผลการใช้ระบบฐานข้อมูล สร้างคลังความรู้และนวัตกรรมชนเผ่า องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้ออำนวย ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรอย่างต่อเนื่อง สร้างแรงจูงใจและให้รางวัล ส่งเสริมการสร้างค่านิยมแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน องค์กรมีสมรรถนะที่เหมาะสม ปรับปรุงแผนพัฒนาสมรรถนะบุคลากร สนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงาน พัฒนาทักษะเชิงเทคนิคและการสนับสนุนวิชาการ พัฒนาทักษะการถ่ายทอด ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)