แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การปฏิบัติงานโครงการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕61
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
การจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน (Unit School)
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
โครงการประจำปีงบประมาณ 2559
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตร อำเภอพระนครศรีอยุธยา ปี 2560
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก : กษ. (สศก. ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง:
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
การเปลี่ยนแปลง สู่การเกษตรยุคใหม่ที่ยั่งยืน
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561 โครงการส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ หน่วยงาน สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 9 Balance 1. แสดงออกถึงงานตาม Function เป็นรูปธรรม วัดผล ตรวจสอบได้ 2. กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน และกำหนด Milestone ในแต่ละช่วงเวลา 3. งาน Agenda ต้องดำเนินงานบนพื้นฐานของงานตาม Function 4. ในระดับพื้นที่ต้องนำงาน Agenda และงานตาม Function มากำหนดเป็นแนวทางในการขับเคลื่อน 5. การพัฒนาเกษตรกรและสำนักส่งเสริมฯ ต้องสมดุลกันในทุกมิติ 6. พัฒนาเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตร 7. ขับเคลื่อนผ่านระบบ T&V System ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่/นวัตกรรม ควบคู่กับภูมิปัญญาท้องถิ่น 8. ผลตอบแทนอยู่ในระดับที่เหมาะสมและสมดุล สร้างรายได้ที่มั่งคงและยั่งยืน มีการจัดการที่ดี พัฒนาคุณภาพ/มาตรฐานผลผลิต 9. ส่งเสริมการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ทำลายวัฒนธรรมอันดีงาม Agenda ศพก. แปลงใหญ่ Smart Farmer GAP เกษตรอินทรีย์ Zoning by Agri-Map ผลสำเร็จ 1. พื้นที่เกษตรแปลงใหญ่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา 2. เกษตรกรในพื้นที่แปลงใหญ่มีการรวมกลุ่มสินค้าเกษตรตามแนวทางระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ Function กิจกรรม 1. ถ่ายทอดความรู้ ด้านการวิเคราะห์จัดทำแผนรายแปลง การพัฒนาคุณภาพ การตลาด และการบริหารจัดการกลุ่ม 2. การบริหารจัดการสินค้าเกษตรครบวงจร 3. การเชื่อมโยงการตลาด ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร 1. การส่งเสริมความมั่งคงในอาชีพของเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร 2. การส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตสิค้าเกษตรและยกระดับสู่มาตรฐานสากล ด้วยงานวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม 3. การส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 4. การส่งเสริมการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร 5. การพัฒนาศักยภาพองค์กรและใช้นวัตกรรมในการบริหารจัดการ Area พื้นที่ดำเนินการ 14 อำเภอ (บ้านกรวด โนนสุวรรณ หนองกี่ ละหานทราย นาโพธิ์ ลำปลายมาศ ปะคำ กระสัง แคนดง คูเมือง ชำนิ โนนดินแดง หนองหงส์ ประโคนชัย) กลุ่มเป้าหมาย แปลงใหญ่ 21 แปลง

โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ระบบส่งเสริมการเกษตร (T&V) เป้าหมาย 5 ปี Out put : พื้นที่การเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่ได้รับการพัฒนาจำนวน 56 แปลง Out come : ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 20 สินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน เป้าหมาย ปี 61 Out put : พื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่ได้รับการพัฒนา จำนวน 21 แปลง (ปี59=1 แปลง , ปี60=13 แปลง, ปี61 = 7 แปลง) Out come : ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 5 เพิ่มผลผิตร้อยละ 5 สินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ได้การรับรองมาตรฐาน วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำการผลิต มีการบริหารจัดการร่วมกันเพื่อให้เกิดการรวมกันผลิตและรวมกันจำหน่ายโดยมีตลาดรองรับที่แน่นอน 2. เพื่อให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตและมีผลผลิตต่อหน่วยเพิ่มขึ้น รวมทั้งผลผลิตมีคุณภาพได้มาตรฐาน ภายใต้การบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เป้าหมาย 1.แปลงได้รับการรับรองมาตรฐาน 2. เกิดการส่งมอบผลผลิตที่มีคุณภาพ 3. เกษตรกรมรรายได้เพิ่ม 4. เกษตรกร ได้รับการพัฒนาเป็น Smart Farmer จำนวน 1,380 ราย ปี 2564 Out put : พื้นที่การเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่ได้รับการพัฒนาจำนวน 36 แปลง Out come : ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 5 เพิ่มผลผลิตร้อยละ 5 สินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน เป้าหมาย 1. เกษตรกรได้รับการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงานในแปลงเรียนรู้ (ด้านต่างๆ) 2. มีการพัฒนาการผลิต/เพิ่มมูลค่าผลผลิต 3. เกิดการเชื่อมโยงการตลาด เป้าหมาย 1.เกษตรกรได้รับการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานในแปลงเรียนรู้ (ด้านต่างๆ) 2. มีการพัฒนาการผลิต 3. เกษตรกรสามารถเป็นผู้จัดการ กิจกรรม 1. สนับสนุนแปลงเรียนรู้/ระบบน้ำ/การจัดการดิน 2. ประชาสัมพันธ์และเชื่อมโยงเครือข่ายตลาดสินค้าเกษตรการจากแปลงใหญ่ 3. ประชุมเครือข่ายแปลงและ ศพก. ร่วมกันเพื่อสรุปบทเรียนการดำเนินงานและคัดเลือกคณะกรรมการเครือข่ายชุดใหม่ ครบวาระ 4. ดำเนินการถอดบทเรียนแปลงใหญ่ที่ประสบผลสำเร็จ 5. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เป้าหมาย 1. มีแผนบูรณาการทุกภาคส่วน 2. มีแผนปฏิบัติงานรายแปลงครบทุกแปลง 3. เกษตรกรนำความรู้ไปปฏิบัติในแปลง 4. คณะกรรมการเครือข่ายทราบ ปี 2563 กิจกรรม 1. สนับสนุนแปลงเรียนรู้/ระบบน้ำ/การจัดการดิน 2. เชื่อโยงการตลาด 3. พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร/สร้างมูลค่าเพิ่ม 4. ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ 5. ประชุมเครือข่ายแปลงใหญ่และ ศพก. เพื่อนำองค์ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม Out put : พื้นที่การเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่ได้รับการพัฒนาจำนวน 31 แปลง Out come : ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 5 เพิ่มผลผลิตร้อยละ 5 สินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน กิจกรรม 1. สนับสนุนแปลงเรียนรู้/ระบบน้ำ/การจักการดิน 2.พัฒนาเกษตรกรเป็นผู้จัดการแปลง 3. ประชาสัมพันธ์สร้างการเรียนรู้ 4.ประชุมเครือข่ายแปลงใหญ่ และ ศพก. เพื่อกำหนดหลักสูตรในการเรียนรู้ กิจกรรม 1. ทำแผนปฏิบัติงานรายแปลง 2. ถ่ายทอดความรู้ 3. ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ 4. ประชุมเครือข่ายแปลงใหญ่และ ศพก. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติงานและวางแผนการพัฒนาร่วมกัน ปี 2562 Out put : พื้นที่การเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่ได้รับการพัฒนาจำนวน 26 แปลง Out come : ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 5 เพิ่มผลผลิตร้อยละ 5 สินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย.) ไตรมาส 3 (เม.ย.-มิ.ย.) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.) ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค.) ระบบส่งเสริมการเกษตร (T&V) ปี 2561 ปี 2564