แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561 โครงการส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ หน่วยงาน สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 9 Balance 1. แสดงออกถึงงานตาม Function เป็นรูปธรรม วัดผล ตรวจสอบได้ 2. กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน และกำหนด Milestone ในแต่ละช่วงเวลา 3. งาน Agenda ต้องดำเนินงานบนพื้นฐานของงานตาม Function 4. ในระดับพื้นที่ต้องนำงาน Agenda และงานตาม Function มากำหนดเป็นแนวทางในการขับเคลื่อน 5. การพัฒนาเกษตรกรและสำนักส่งเสริมฯ ต้องสมดุลกันในทุกมิติ 6. พัฒนาเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการด้านการเกษตร 7. ขับเคลื่อนผ่านระบบ T&V System ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่/นวัตกรรม ควบคู่กับภูมิปัญญาท้องถิ่น 8. ผลตอบแทนอยู่ในระดับที่เหมาะสมและสมดุล สร้างรายได้ที่มั่งคงและยั่งยืน มีการจัดการที่ดี พัฒนาคุณภาพ/มาตรฐานผลผลิต 9. ส่งเสริมการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ทำลายวัฒนธรรมอันดีงาม Agenda ศพก. แปลงใหญ่ Smart Farmer GAP เกษตรอินทรีย์ Zoning by Agri-Map ผลสำเร็จ 1. พื้นที่เกษตรแปลงใหญ่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา 2. เกษตรกรในพื้นที่แปลงใหญ่มีการรวมกลุ่มสินค้าเกษตรตามแนวทางระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ Function กิจกรรม 1. ถ่ายทอดความรู้ ด้านการวิเคราะห์จัดทำแผนรายแปลง การพัฒนาคุณภาพ การตลาด และการบริหารจัดการกลุ่ม 2. การบริหารจัดการสินค้าเกษตรครบวงจร 3. การเชื่อมโยงการตลาด ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร 1. การส่งเสริมความมั่งคงในอาชีพของเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร 2. การส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตสิค้าเกษตรและยกระดับสู่มาตรฐานสากล ด้วยงานวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม 3. การส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 4. การส่งเสริมการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร 5. การพัฒนาศักยภาพองค์กรและใช้นวัตกรรมในการบริหารจัดการ Area พื้นที่ดำเนินการ 14 อำเภอ (บ้านกรวด โนนสุวรรณ หนองกี่ ละหานทราย นาโพธิ์ ลำปลายมาศ ปะคำ กระสัง แคนดง คูเมือง ชำนิ โนนดินแดง หนองหงส์ ประโคนชัย) กลุ่มเป้าหมาย แปลงใหญ่ 21 แปลง
โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ระบบส่งเสริมการเกษตร (T&V) เป้าหมาย 5 ปี Out put : พื้นที่การเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่ได้รับการพัฒนาจำนวน 56 แปลง Out come : ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 20 สินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน เป้าหมาย ปี 61 Out put : พื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่ได้รับการพัฒนา จำนวน 21 แปลง (ปี59=1 แปลง , ปี60=13 แปลง, ปี61 = 7 แปลง) Out come : ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 5 เพิ่มผลผิตร้อยละ 5 สินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ได้การรับรองมาตรฐาน วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มทำการผลิต มีการบริหารจัดการร่วมกันเพื่อให้เกิดการรวมกันผลิตและรวมกันจำหน่ายโดยมีตลาดรองรับที่แน่นอน 2. เพื่อให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตและมีผลผลิตต่อหน่วยเพิ่มขึ้น รวมทั้งผลผลิตมีคุณภาพได้มาตรฐาน ภายใต้การบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เป้าหมาย 1.แปลงได้รับการรับรองมาตรฐาน 2. เกิดการส่งมอบผลผลิตที่มีคุณภาพ 3. เกษตรกรมรรายได้เพิ่ม 4. เกษตรกร ได้รับการพัฒนาเป็น Smart Farmer จำนวน 1,380 ราย ปี 2564 Out put : พื้นที่การเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่ได้รับการพัฒนาจำนวน 36 แปลง Out come : ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 5 เพิ่มผลผลิตร้อยละ 5 สินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน เป้าหมาย 1. เกษตรกรได้รับการเรียนรู้ จากการปฏิบัติงานในแปลงเรียนรู้ (ด้านต่างๆ) 2. มีการพัฒนาการผลิต/เพิ่มมูลค่าผลผลิต 3. เกิดการเชื่อมโยงการตลาด เป้าหมาย 1.เกษตรกรได้รับการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานในแปลงเรียนรู้ (ด้านต่างๆ) 2. มีการพัฒนาการผลิต 3. เกษตรกรสามารถเป็นผู้จัดการ กิจกรรม 1. สนับสนุนแปลงเรียนรู้/ระบบน้ำ/การจัดการดิน 2. ประชาสัมพันธ์และเชื่อมโยงเครือข่ายตลาดสินค้าเกษตรการจากแปลงใหญ่ 3. ประชุมเครือข่ายแปลงและ ศพก. ร่วมกันเพื่อสรุปบทเรียนการดำเนินงานและคัดเลือกคณะกรรมการเครือข่ายชุดใหม่ ครบวาระ 4. ดำเนินการถอดบทเรียนแปลงใหญ่ที่ประสบผลสำเร็จ 5. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เป้าหมาย 1. มีแผนบูรณาการทุกภาคส่วน 2. มีแผนปฏิบัติงานรายแปลงครบทุกแปลง 3. เกษตรกรนำความรู้ไปปฏิบัติในแปลง 4. คณะกรรมการเครือข่ายทราบ ปี 2563 กิจกรรม 1. สนับสนุนแปลงเรียนรู้/ระบบน้ำ/การจัดการดิน 2. เชื่อโยงการตลาด 3. พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร/สร้างมูลค่าเพิ่ม 4. ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ 5. ประชุมเครือข่ายแปลงใหญ่และ ศพก. เพื่อนำองค์ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม Out put : พื้นที่การเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่ได้รับการพัฒนาจำนวน 31 แปลง Out come : ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 5 เพิ่มผลผลิตร้อยละ 5 สินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน กิจกรรม 1. สนับสนุนแปลงเรียนรู้/ระบบน้ำ/การจักการดิน 2.พัฒนาเกษตรกรเป็นผู้จัดการแปลง 3. ประชาสัมพันธ์สร้างการเรียนรู้ 4.ประชุมเครือข่ายแปลงใหญ่ และ ศพก. เพื่อกำหนดหลักสูตรในการเรียนรู้ กิจกรรม 1. ทำแผนปฏิบัติงานรายแปลง 2. ถ่ายทอดความรู้ 3. ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ 4. ประชุมเครือข่ายแปลงใหญ่และ ศพก. เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติงานและวางแผนการพัฒนาร่วมกัน ปี 2562 Out put : พื้นที่การเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่ได้รับการพัฒนาจำนวน 26 แปลง Out come : ลดต้นทุนการผลิตร้อยละ 5 เพิ่มผลผลิตร้อยละ 5 สินค้าเกษตรในแปลงใหญ่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย.) ไตรมาส 3 (เม.ย.-มิ.ย.) ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.) ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค.) ระบบส่งเสริมการเกษตร (T&V) ปี 2561 ปี 2564