ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๒ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝีกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ (ฉบับที่ ๓ ) พ.ศ. ๒๕๕๕
การฝึกอบรม ความหมาย การอบรม การประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การสัมมนาทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝึกศึกษา การดูงาน การฝึกงาน หรือที่เรียกชื่ออย่างอื่น มีโครงการหรือหลักสูตรเวลาที่จัดแน่นอน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไม่มีการรับปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ
การดูงาน การเพิ่มพูนความรู้หรือประสบการณ์ ด้วยการสังเกตการณ์ กำหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม กำหนดไว้ในแผนการจัดการประชุมระหว่างประเทศ กำหนดให้มีการดูงาน ก่อน ระหว่าง หรือหลังการฝึกอบรม หรือ การประชุมระหว่างประเทศ โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมเฉพาะการดูงานภายในประเทศที่หน่วยงานของรัฐจัดขึ้น
มี ๒ ประเภท การฝึกอบรมประเภท ก ผู้เข้ารับการอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ ประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ และระดับทรงคุณวุฒิ ประเภทบริหารระดับต้นและระดับสูง หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า การฝึกอบรมประเภท ข ผู้เข้ารับการอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน ชำนาญงานและอาวุโส ประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ ชำนาญการและชำนาญการพิเศษ ประเภทอำนวยการระดับต้น หรือเทียบเท่า
การฝึกอบรมบุคคลภายนอก ผู้เข้ารับการอบรมเกินกึ่งหนึ่งมิใช่บุคคลากรของรัฐ “การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในระเบียบฯ หรือที่กำหนดไว้แล้วแต่ ไม่สามารถปฏิบัติได้ ให้หัวหน้าส่วนราชการขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง”
ค่าใช้จ่ายของส่วนราชการที่จัดฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายของส่วนราชการที่จัดฝึกอบรม (๑) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม (๒) ค่าใช้จ่ายในพิธีเปิด – ปิด การฝึกอบรม (๓) ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ (๔) ค่าประกาศนียบัตร (๕) ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ (๖) ค่าหนังสือสาหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม (๗) ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร (๘) ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม (๙) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (๑๐) ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับ การฝึกอบรม
ค่าใช้จ่ายของส่วนราชการที่จัดฝึกอบรม (๑๑) ค่าของสมนาคุณในการดูงาน (๑๒) ค่าสมนาคุณวิทยากร (๑๓) ค่าอาหาร (๑๔) ค่าเช่าที่พัก (๑๕) ค่ายานพาหนะ ค่าใช้จ่ายตาม (๑) – (๙) ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสมและประหยัด ค่าใช้จ่ายตาม (๑๐) ให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราใบละ ๓๐๐ บาท ค่าใช้จ่ายตาม (๑๑) ให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินแห่งละ ๑,๕๐๐ บาท ค่าใช้จ่ายตาม (๑๒) – (๑๕) ให้เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดตามระเบียบฯ * ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม และค่าเช่าที่พัก ได้รับอนุมัติให้ไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบการพัสดุ
ผู้มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย ประธานในพิธีเปิดหรือพิธี ปิดการฝึกอบรม แขกผู้มี เกียรติ และผู้ติดตาม ๒. เจ้าหน้าที่ ๓. วิทยากร ๔. ผู้เข้ารับการอบรม ๕. ผู้สังเกตการณ์
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าสมนาคุณ ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการบรรยาย ให้จ่ายค่าสมนาคุณได้ไม่เกิน ๑ คน (๒) ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการอภิปรายหรือสัมมนาเป็นคณะ ให้จ่ายค่าสมนาคุณได้ไม่เกิน ๕ คน โดยรวมถึงผู้ดำเนินการอภิปรายหรือสัมมนา ที่ทำหน้าที่เช่นเดียวกับวิทยากรด้วย (๓) ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการแบ่งกลุ่มฝึกภาคปฏิบัติ แบ่งกลุ่มอภิปรายหรือสัมมนา หรือแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม ที่กำหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม และจำเป็นต้องมีวิทยากรประจำกลุ่ม ให้จ่ายค่าสมนาคุณได้ไม่เกินกลุ่มละ ๒ คน
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าสมนาคุณ (ต่อ) (๔) ชั่วโมงการฝึกอบรมใดมีวิทยากรเกินกว่าที่กำหนดไว้ตาม (๑) (๒) หรือ (๓) ให้เฉลี่ยจ่ายค่าสมนาคุณภายในจำนวนเงินที่จ่ายได้ตามหลักเกณฑ์ (๕) การนับชั่วโมงการฝึกอบรมให้นับตามเวลาที่กำหนดในการฝึกอบรม โดยไม่หักเวลารับประทานอาหารว่าง และเครื่องดื่ม แต่ละชั่วโมงการฝึกอบรมต้องมีเวลาการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าห้าสิบนาที กรณีการฝึกอบรมไม่ถึงห้าสิบนาทีแต่ไม่น้อยกว่ายี่สิบห้านาที ให้จ่ายค่าสมนาคุณได้กึ่งหนึ่ง
อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร (๑) วิทยากรที่เป็นบุคคลของรัฐไม่ว่าจะสังกัดส่วนราชการที่จัดฝึกอบรมหรือไม่ก็ตาม ให้ได้รับค่าสมนาคุณ ดังนี้ การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกินชั่วโมงละ ๘๐๐ บาท การฝึกอบรมประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก ไม่เกินชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท (๒) วิทยากรที่ไม่ใช่บุคคล ตาม (๑) ให้ได้รับค่าสมนาคุณ ดังนี้ การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกินชั่วโมงละ ๑,๖๐๐ บาท การฝึกอบรมประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก ไม่เกินชั่วโมงละ ๑,๒๐๐ บาท
อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร (ต่อ) (๓) กรณีจาเป็นต้องใช้วิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เป็นพิเศษ เพื่อประโยชน์ในการฝึกอบรม จะให้วิทยากรได้รับค่าสมนาคุณสูงกว่าอัตราที่กำหนดตาม (๑) หรือ (๒) ก็ได้ โดยให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ (๔) การฝึกอบรมที่ส่วนราชการจัดหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น ถ้าวิทยากรได้รับค่าสมนาคุณจากหน่วยงานอื่นแล้ว ให้ส่วนราชการที่จัดฝึกอบรมงดเบิกค่าสมนาคุณจากส่วนราชการที่จัด เว้นแต่จะทำความตกลงกับกระทรวงการคลังเป็นอย่างอื่น
อัตราจัดประชุมสถานที่ราชการ (ในประเทศ) สถานที่ราชการในประเทศ การเบิกจ่ายค่าอาหาร ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่มีการจัดอาหาร สำหรับผู้มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย ให้เบิกจ่ายค่าอาหารได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตรา ดังนี้ อัตราจัดประชุมสถานที่ราชการ (ในประเทศ) ประเภทการฝึกอบรม สถานที่ราชการในประเทศ ต่างประเทศ ครบมื้อ ไม่ครบมื้อ การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 850 ไม่เกิน 600 ไม่เกิน 2,500 การฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข ไม่เกิน 400 การฝึกอบรมบุคคลภายนอก ไม่เกิน 500 ไม่เกิน 300
การเบิกจ่ายค่าอาหาร (ต่อ) อัตราจัดประชุมสถานที่เอกชน (ในประเทศ) ประเภทการฝึกอบรม สถานที่เอกชนในประเทศ ต่างประเทศ ครบมื้อ ไม่ครบมื้อ การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 850 ไม่เกิน 2,500 การฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข ไม่เกิน 950 ไม่เกิน 700 การฝึกอบรมบุคคลภายนอก ไม่เกิน 800 ไม่เกิน 600
การเบิกจ่ายค่าเช่าที่พัก จ่าในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่มีการจ่ายค่าเช่าที่พัก สำหรับผู้มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย ให้เบิกจ่ายค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตรา ดังนี้ ประเภทการฝึกอบรม ค่าเช่าห้องพัก คนเดียว ค่าเช่าห้องพักคู่ 1. การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 2,400 ไม่เกิน 2. การฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข ไม่เกิน 1,450 ไม่เกิน 900 การฝึกอบรมบุคคลภายนอก ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 750
หลักเกณฑ์การจัดที่พักสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม การฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก ให้พักรวมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป โดยให้พักห้องพักคู่ เว้นแต่เป็นกรณีไม่เหมาะสมหรือมีเหตุจำเป็นไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้จัด อาจจัดให้พักห้องพักคนเดียวได้ การจัดที่พักให้แก่ผู้สังเกตการณ์หรือเจ้าหน้าที่ ตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับต้น ประเภทวิชาการไม่เกินระดับชำนาญการพิเศษ ประเภททั่วไปไม่เกินระดับอาวุโส ให้พักรวมกันตั้งแต่สองคนขึ้นไป โดยให้พักห้องพักคู่ เว้นแต่เป็นกรณีไม่เหมาะสมหรือมีเหตุจำเป็นไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้ หัวหน้าส่วนราชการผู้จัดอาจจัดให้พักห้องพักคนเดียวได้ สำหรับตำแหน่งประเภทบริหารระดับต้น ระดับสูง หรือตำแหน่งที่เทียบเท่าประเภทอำนวยการระดับสูง ประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ระดับทรงคุณวุฒิ และประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษจะจัดให้พักห้องพักคนเดียวก็ได้ การจัดที่พักสาหรับประธานในพิธีฯ หรือวิทยากร ให้พักห้องพักคนเดียวหรือพักห้องพักคู่ก็ได้ และเบิกค่าเช่า ที่พักได้เท่าที่จ่ายจริง
การเบิกจ่ายค่าพาหนะพาหนะ ส่วนราชการที่จัดการฝึกอบรมจัดยานพาหนะให้หรือรับผิดชอบ ค่ายานพาหนะ สำหรับผู้มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่าย ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ (๑) กรณีใช้ยานพาหนะของส่วนราชการที่จัดฝึกอบรม หรือยืมจากส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่น ให้เบิกจ่าย ค่าเชื้อเพลิงได้เท่าที่จ่ายจริง (๒) กรณีใช้ยานพาหนะประจาทางหรือเช่าเหมายานพาหนะ ให้จัดตามระดับของการฝึกอบรมตามสิทธิข้าราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการโดยอนุโลม
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม การจัดฝึกอบรมถ้ามีการจัดอาหารว่างและเครื่องดื่มให้ระหว่างการฝึกอบรม ให้เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสม และประหยัด ดังนี้ จัดในสถานที่ราชการ ในอัตราไม่เกิน ๓๕ บาท/มื้อ/คน จัดในสถานที่เอกชน ในอัตราไม่เกิน ๕๐ บาท/มื้อ/คน
การจ้างจัดฝึกอบรม กรณีส่วนราชการที่จัดการฝึกอบรมประสงค์จะจ้างจัดฝึกอบรม ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนให้ดาเนินการได้ตามหลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้จ่ายตามระเบียบนี้ การจ่ายเงินค่าจ้างจัดฝึกอบรมให้ใช้ใบเสร็จรับเงินของผู้รับจ้างเป็นหลักฐานการจ่าย แต่ถ้าเป็นการจ่ายเงินโดยกรมบัญชีกลางเพื่อเข้าบัญชีให้กับผู้รับจ้าง หรือผู้มีสิทธิรับเงินโดยตรงให้ใช้รายงานในระบบตามที่กระทรวงการคลังกำหนดเป็นหลักฐานการจ่าย
หลักฐานประกอบการเบิกจ่ายเงิน มีดังนี้ ๑. โครงการฝึกอบรมที่ได้รับการอนุมัติ ๒. สาเนาสัญญายืมเงิน ๓. ตารางการฝึกอบรม ๔. บันทึกขออนุมัติเดินทาง (กรณีการเดินทางไปจัดฝึกอบรมนอกสถานที่) ๕. แบบรายงานการเดินทางไปราชการ ๖. เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)
ค่าใช้จ่ายในการประชุมระหว่างประเทศ หลักเกณฑ์ ๑. บุคคลที่จะเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการประชุมระหว่างประเทศ ได้แก่ (๑) ประธานในพิธีเปิดหรือพิธีปิดการประชุม แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม (๒) เจ้าหน้าที่ (๓) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานลักษณะพิเศษ (๔) วิทยากร (๕) ผู้เข้าร่วมประชุม
๒. ค่าอาหาร และเครื่องดื่ม กรณีจัดครบทุกมื้อไม่เกินคนละ ๑,๒๐๐ บาท/วัน กรณีจัดไม่ครบทุกมื้อไม่เกินคนละ ๘๐๐ บาท/วัน ๓. ค่าเช่าที่พัก ไม่เกินคนละ ๒,๐๐๐ บาท/วัน ๔. ค่าพาหนะ เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจาเป็น เหมาะสมและประหยัด โดยอยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ
การเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงาน นอกเวลาราชการ พ.ศ.2550
ปุจฉา: ค่าตอบแทนคืออะไร วิสัชนา: ค่าตอบแทน คือ เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการที่ปฏิบัติงานตามหน้าที่ โดยลักษณะงานส่วน ใหญ่ต้องปฏิบัติงานในที่ตั้งสำนักงานและได้ปฏิบัติงานในที่ตั้งสำนักงาน และปฏิบัติงานนั้นนอกเวลาราชการในที่ตั้งสำนักงาน หรือโดยลักษณะ งานส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติงานนอกที่ตั้งสำนักงานและได้ปฏิบัติงานนั้น นอกเวลาราชการ หรือโดยลักษณะงานปกติต้องปฏิบัติงานในลักษณะ เป็นผลัดหรือกะ และได้ปฏิบัติงานนั้นนอกผลัดหรือนอกกะของตน
ปุจฉา: เวลาราชการหมายถึงวันเวลาใด วิสัชนา: เวลาราชการ หมายความว่า เวลาระหว่าง 08.30-16.30 น.ของวันทำการ และให้ หมายความ รวมถึงช่วงเวลาอื่นที่ส่วนราชการ กำหนดให้ข้าราชการในสังกัดปฏิบัติงานเป็นผลัด หรือกะหรือเป็นอย่างอื่นด้วย
กรณีมีราชการจำเป็นเร่งด่วน กรณีมีราชการจำเป็นเร่งด่วนต้องปฏิบัติงานนอกเวลา ราชการ โดยยังไม่ได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ ให้ ดำเนินการขออนุมัติโดยไม่ชักช้า และให้แจ้งเหตุแห่ง ความจำเป็นที่ไม่อาจขออนุมัติก่อนได้
ปุจฉา: จะเบิกค่าใช้จ่ายเดินทางหรือค่าตอบแทน วิสัชนา: กรณีได้รับคำสั่งให้เดินทางไปราชการตาม ระเบียบสำนักนายกฯ ไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทน เว้นแต่ จะได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ก่อนการเดินทาง เมื่อการเดินทางไปราชการนั้นเสร็จสิ้น และกลับถึงที่ตั้งสำนักงานในวันใด หากจำเป็นต้อง ปฏิบัติงานนอกเวลานอกราชการในวันนั้นให้เบิกเงิน ตอบแทนได้
หลักเกณฑ์และอัตราการเบิก ให้มีสิทธิ์เบิกเงินตอบแทนได้ไม่เกิน 4 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 50 บาท ในวันทำการ ให้มีสิทธิ์เบิกเงินตอบแทนได้ไม่เกิน 7 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 60 บาท ในวันหยุด ทำการ
การนับเวลา การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการหลายช่วงเวลา ภายในวันเดียวกันให้นับเวลาปฏิบัติงานนอกเวลา ราชการทุกช่วงเวลารวมกัน การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการไม่เต็มชั่วโมงเบิก ไม่ได้
การควบคุมดูแล การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการหลายคนให้ผู้ปฏิบัติ คนใดคนหนึ่งเป็นผู้รับรอง ให้รายงานผลการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการต่อ ผู้มีอำนาจภายใน 15 วัน นับแต่วันที่เสร็จสิ้นการ ปฏิบัติงาน
ค่าธรรมเนียมในการคืนบัตร เปลี่ยนบัตรโดยสาร พาหนะในการเดินทางไปราชการ หรือค่าบัตรโดยสารที่ไม่สามารถคืนหรือเปลี่ยนบัตรได้กรณีเลื่อนการเดินทางไปราชการ เนื่องจากส่วนราชการสั่งให้งด หรือเลื่อนการเดินทางไปราชการ และให้รวมถึงกรณีเหตุสุดวิสัยอื่นๆ ที่ทำให้ไม่สามารถเดินทางได้ ทั้งนี้ ต้องมิได้เกิดจากตัวผู้เดินทาง เป็นเหตุ
ค่าตรวจสอบเพื่อการรับรองระบบการทำงานหรือมาตรฐานการทำงาน ค่าตอบแทนกรรมการจริยธรรมการวิจัยที่เป็นบุคคลภายนอก ให้จ่ายได้ในอัตรา 1,000 บาทต่อการประชุมในแต่ละครั้ง โดยไม่เบิกค่าตอบแทนในลักษณะเช่นเดียวกันอีก
ค่าของขวัญ/ของที่ระลึกมอบให้ชาวต่างประเทศกรณีเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว หรือกรณีชาวต่างประเทศเดินทางมาประเทศไทยในนามของส่วนราชการเป็นส่วนรวม ค่าของขวัญหรือของที่ระลึกที่มอบให้กรณีหน่วยงานที่ให้ ความช่วยเหลือส่วนราชการ หรือกรณีการเยี่ยมชมส่วน ราชการ ในนามของส่วนราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ คำถาม กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะ ไม่ได้หมายเหตุระยะเวลาในการ เดินทางออกจากบ้านพักและกลับ ถึงบ้านพัก ได้หรือไม่
คำถาม กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะและ จัดทำใบเบิกค่าใช้จ่ายรวมฉบับ เดียวกัน หากระยะเวลาในการเริ่มต้น และสิ้นสุดการเดินทางของแต่ละบุคคล แตกต่างกัน ทำไมจึงให้แสดง รายละเอียดของวัน เวลา ที่แตกต่างกัน ของแต่ละบุคคลในช่องหมายเหตุ
คำถาม ทำไมต้องประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” และลงลายมือชื่อ ผู้จ่ายเงิน วันเดือนปี ในการ จ่ายเงิน ในหลักฐาน ประกอบการเบิกจ่ายเงิน
คำถาม เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงเกิน เนื่องจากเจ้าหน้าที่ที่ร่วมเดินทาง 1 ราย เดินทางกลับทันทีหลังเสร็จสิ้นการ ประชุมวันที่ 14 ม.ค.58 แต่แบบ รายงานการเบิกค่าใช้จ่ายเดินทาง นับ ระยะเวลาเพื่อคำนวณเบี้ยเลี้ยงจนถึง วันที่ 15 ม.ค.58 ทำให้เกิดเบี้ยเลี้ยงเกิน มา 80 บาท
คำถาม วันที่ในรายงานการเดินทางไม่ตรง กับวันที่ในใบขออนุมัติ คือ รายงานเดินทาง เป็นวันที่ 23 ธันวาคม 2557 แต่ได้รับอนุมัติ เดินทางไปราชการ 24 ธันวาคม 2557 ซึ่งถือ ว่าเป็นการเดินทางก่อนวันที่ที่ได้รับอนุมัติ เมื่อสอบถามเจ้าหน้าที่ได้ชี้แจงว่าเกิดจากมี การเปลี่ยนแปลงรายชื่อพนักงานขับรถยนต์ แล้ว เกิดความคลาดเคลื่อนของวันที่อนุมัติให้ ไปราชการ
คำถาม หน่วยงานได้จ้างเหมา พนักงานขับรถยนต์ แต่บางครั้งต้องขับ รถออกไปปฏิบัติงานนอกพื้นที่ที่ตั้ง (ตจว.) และพักค้างแรม สามารถเบิก ค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าที่พักได้หรือไม่ ถ้า ไม่ได้จะมีแนวทาง/วิธีการอย่างไรจึงจะ สามารถเบิกได้
คำถาม ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว ในกรณี เดินทางไปราชการประจำหรือกลับภูมิลำเนา เดิม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิก ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 กำหนดให้เบิกในลักษณะเหมาจ่าย อยากทราบ ว่าต้องใช้หลักฐานอะไรมาประกอบการเบิกจ่าย
คำถาม สำนักงานตั้งอยู่จังหวัดราชบุรี ได้รับ อนุมัติให้เดินทางไปราชการที่จังหวัดกาญจนบุรี และมีความจำเป็นต้องปฏิบัติงานนอกเวลา ราชการ จะเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลา ราชการ และค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ตาม ระเบียบการเดินทางไปราชการได้หรือไม่ หรือ เลือกได้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
คำถาม การเดินทางไป สอบคัดเลือกหรือรับคัดเลือก สามารถเบิกค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปราชการได้หรือไม่
คำถาม เดินทางไปราชการโดย เครื่องบิน แต่ปรากฏว่า ใบเสร็จรับเงิน บัตรโดยสาร เครื่องบินหรือใบรับเงิน (Itinerary Receipt) เกิดสูญหาย จะต้อง ดำเนินการอย่างไร
คำถาม รถยนต์ประเภทใดที่ สามารถเบิกค่าบริการจอดรถ ณ สถานที่จอดรถที่มีการเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการจอด รถได้
คำถาม ข้าราชการและลูกจ้างของส่วน ราชการ ซึ่งถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้กระทำทุจริต อันเนื่องมาจากการปฏิบัติราชการตามหน้าที่ และต้องเดินทางไปให้การต่อคณะกรรมการ สอบส่วนการทุจริตตามคำสั่งของ คณะกรรมการซึ่งการเดินทางกรณีดังกล่าวจะ ถือเป็นการเดินทางไปราชการและเบิก ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการได้หรือไม่
คำถาม ถ้านาย ก. เดินทางไป ราชการชั่วคราว แล้วเกิดเจ็บป่วย ระหว่างเดินทาง นาย ก. จะเบิก ค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าเช่าที่พักได้ หรือไม่
คำถาม กรณีเดินทางไปราชการ ต่างจังหวัดเพื่อออกติดตามผลการ ดำเนินงานและมีการเชิญเจ้าหน้าที่ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามาประชุมหารือ การปฏิบัติงานของทางราชการ จะเบิก ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม ตาม ระเบียบว่าด้วยการประชุมราชการได้หรือไม่
คำถาม การเดินทางไปราบการ ในช่วงเดือนกันยายน คาบเกี่ยวถึง เดือนตุลาคม จะขอยืมเงิน งบประมาณในปีปัจจุบันได้หรือไม่
คำถาม การเดินทางไป ราชการจะเลือกใช้การใช้พาหนะ ส่วนตัวช่วงหนึ่ง แล้วเดินทางต่อ โดยใช้พาหนะโดยสารประจำทาง รถไฟ หรือเครื่องบินได้หรือไม่
คำถาม ลูกจ้างประจำสามารถ นั่งรถปรับอากาศชั้น 1 ชนิดไม่ เกิน 24 ที่นั่ง ได้หรือไม่
คำถาม หากข้าราชการได้ซื้อบัตรโดยสาร เครื่องบินชนิดไม่สามารถคืนได้ แต่ติด ราชการสำคัญที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายไม่ สามารถเดินทางไปปฏิบัติราชการได้ โดย ผู้บังคับบัญชาได้อนุมัติให้ยกเลิการเดินทาง จะสามารถนำค่าบัตรโดยสารเครื่องบิน ดังกล่าวมาเบิกจากทางราชการได้หรือไม่
คำถาม ค่าธรรมเนียมในการคืน ตั๋ว เปลี่ยนตั๋วโดยสารเครื่องบิน และรถไฟ สามารถเบิกได้หรือไม่
คำถาม รถราชการเสียระหว่างการ เดินทางไปราชการ จะดำเนินการ อย่างไร เบิกจ่ายอย่างไร ใช้ ใบเสร็จรับเงินเพียงอย่างเดียวได้ หรือไม่
คำถาม ข้าราชการบรรจุ ใหม่ ยังไม่ผ่านทดลองงาน ไปราชการได้หรือไม่ และ เบิกค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปราชการได้ หรือไม่
คำถาม การเดินทางไปราชการ และ ส่วนราชการไม่สามารถให้ใช้รถของ ส่วนราชการได้ ต้องเช่ารถตู้ของเอกชน เพี่อใช้ในการเดินทาง จะต้อง ดำเนินการอย่างไร และ ถ้าหากผู้ให้เช่า ไม่รวมค่าน้ำมัน ค่าทางด่วน จะ ดำเนินการได้หรือไม่
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน คำถาม ค่าใช้จ่ายจัดอบรม ระหว่างวันที่ 18-19 กันยายน 2557 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พบว่า มีการเบิกจ่ายค่าพาหนะเดินทางเหมาจ่ายของ เจ้าหน้าที่ 6 ราย คนละ 1,000.- บาท รวมเป็นเงิน 6,000.- บาท ซึ่งแต่ละคนเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว และไม่มี ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน รวมทั้งไม่ได้ระบุระยะทาง ประกอบการเบิกจ่ายไม่ปฏิบัติตามหนังสือ กระทรวงการคลัง ที่ กค 0502/ว 42 ลว. 26 ก.ค. 50 เรื่อง หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด เงิน ชดเชย และค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่องในการ เดินทางไปราชการ
คำถาม มีการจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ซึ่งเป็นบุคลากรของรัฐฯ ชั่วโมงละ 1,200 คำถาม มีการจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ซึ่งเป็นบุคลากรของรัฐฯ ชั่วโมงละ 1,200.- บาท จำนวน 7 ชั่วโมง รวมเป็น เงิน 8,400.- บาท และไม่ได้ขออนุมัติ กรมฯ ไม่เป็นไปตามระเบียบฯ กำหนด เนื่องจากตามระเบียบฯ เจ้าหน้าที่ของ รัฐฯ เบิกได้ชั่วโมงละ 600.- บาท
คำถาม ค่าใช้จ่ายจัดอบรม วันที่ 7 ม. ค คำถาม ค่าใช้จ่ายจัดอบรม วันที่ 7 ม.ค. 59 โรงแรมดุสิต ปริ้นเซส นครราชสีมา พบว่า ผู้จัด เชิญวิทยากรของรัฐ เบิกค่าวิทยากรเกินชั่วโมง บรรยายตามตารางอบรม โดยอภิปราย เวลา 13.00 น. - 15.00 น. นับได้ 2 ชั่วโมง แต่จ่ายค่า วิทยากร 3 ชั่วโมงๆ ละ 600.- บาท วิทยากร ทั้งหมด 5 คน เบิกเกินคนละ 1 ชั่วโมง
คำถาม ค่าใช้จ่ายจัดอบรม ระหว่างวันที่ 19 - 21 พ. ค คำถาม ค่าใช้จ่ายจัดอบรม ระหว่างวันที่ 19 - 21 พ.ค. 58 ณ โรงแรมเลค เฮฟเว่นรีสอร์ท จ. กาญจนบุรี พบว่า ผู้จัดจ่ายค่าวิทยากรให้ ประธานกล่าวเปิดงานในชั่วโมงพิธีเปิด 1 ชั่วโมง 600.- บาท ตามตารางอบรมวันที่ 20 พ.ค. 58 เวลา 09.00 - 10.00 น. พิธีเปิดการประชุมเชิง ปฏิบัติการและบรรยายพิเศษ ซึ่งระเบียบฯ ให้ เบิกค่าวิทยากรได้เพียงชั่วโมงการบรรยาย อภิปราย ฝึกปฏิบัติ ดังนั้นชั่วโมงพิธีไม่มี ระเบียบฯรองรับการเบิก
คำถาม การเบิกค่าอาหารว่างและ เครื่องดื่มที่ใช้ในการประชุมราชการ จะ เบิกตามระเบียบใด ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการ ฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุม ระหว่างประเทศ พ.ศ.2549 หรือ ระเบียบ กระทรวงการคลัง ว่าด้วยการบริหารงาน ของส่วนราชการ พ.ศ.2553
คำถาม การประชุมราชการ และ การประชุมอบรม ต่างกันอย่างไร
คำถาม การขออนุญาตจ้างเหมา บริการรถยนต์ ตามระเบียบพัสดุ ฯ เมื่อวางเบิก สามารถนำค่าผ่าน ทางพิเศษมาเบิกกับส่วนราชการ ได้หรือไม่
คำถาม โครงการฝึกอบรม มี หลักเกณฑ์อย่างไรจึงจะเบิก ค่าใช้จ่ายตามระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่าย ในการฝึกอบรมได้
คำถาม ค่าใช้จ่ายในการ ติดต่อสื่อสารตามระเบียบ เป็นค่าอะไรบ้าง
คำถาม การไปศึกษาดูงาน นอกสถานที่ จะต้องเบิก ค่าใช้จ่ายอย่างไร
คำถาม โครงการจัดรถรับ- ส่งผู้ เข้าอบรม แต่ผู้เข้าอบรมไม่มา ขึ้นรถที่จัดให้ จะขอใช้รถ ส่วนตัวเดินทางโดยเบิกเงิน ชดเชยได้หรือไม่
คำถาม การเบิกค่ายานพาหนะ ประเภทรถไฟ ชั้น 1 นั่งนอน ปรับอากาศ รถด่วนหรือรถด่วน พิเศษ ต้องใช้ใบเสร็จรับเงิน หรือไม่
คำถาม ใบเสร็จรับเงิน ค่าลงทะเบียนต้องแจกแจง รายการค่าใช้จ่ายหรือไม่
คำถาม ถ้าค่าลงทะเบียนไม่ ครอบคลุมค่าใช้จ่ายที่ผู้เข้า อบรมต้องจ่าย เช่น ค่าที่พัก ค่าอาหาร จะนำรายการ ดังกล่าวมาเบิกได้หรือไม่
คำถาม นาย ก. ได้รับอนุมัติให้เดินทางไปราชการร ระหว่างวันที่ 1 - 7 ตุลาคม 2558 รวม 7 วัน มีรายละเอียด ดังนี้ วันที่ 1 - 3 ตุลาคม 2558 เดินทางไปราชการในพื้นที่ จังหวัดพิษณุโลก อุตรดิตถ์ และสุโขทัย วันที่ 4 - 6 ตุลาคม 2558 เดินทางไปร่วมประชุมสัมมนาที่จังหวัดเชียงใหม่ (ผู้ จัดรับผิดชอบค่าเช่าที่พัก) วันที่ 4 - 5 ตุลาคม 2558 วันที่ 7 ตุลาคม 2558 ได้เดินทางไปราชการในพื้นที่จังหวัดลำปาง พะเยา อยากทราบว่าการเบิกค่าเช่าที่พักก่อนและหลังการ เข้ารับการฝึกอบรมในวันที่ 3 ตุลาคม 2558 และวันที่ 6 ตุลาคา 2558 ผู้เบิกมีสิทธิเลือกเบิกค่าเช่าที่พักแบบเหมา จ่ายตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินางไป ราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติมได้หรือไม่
คำถาม ส่วนราชการผู้จัดการฝึกอบรมกำหนดให้ มอบเข็มวิทยฐานะให้แก่ผู้ผ่านการฝึกอบรมใน หลักสูตรดังกล่าว ส่วนราชการผู้จัดการฝึกอบรม สามารถเบิกจ่ายค่าจัดทำเข็มวิทยฐานะได้ตาม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการ ฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่าง ประเทศ พ.ศ.2549 และที่แก้ไขเพิ่มเติมได้หรือไม่
คำถาม เจ้าหน้าที่ผู้จัดการฝึกอบรม เดินทางไปจัดเตรียมความพร้อมล่วงหน้า ก่อนการฝึกอบรม 1 วัน สามารถเบิกค่า เช่าที่พักในคืนก่อนการฝึกอบรมสำหรับ เจ้าหน้าที่ผู้จัดการฝึกอบรมตามพระราช กฤษฎีกาเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติมได้หรือไม่
คำถาม หากส่วนราชการจะจัดการ ฝึกอบรมโดยจะทำประกันชีวิตและ สุขภาพให้กับผู้เข้ารับการอบรมทุก คน ค่าเบี้ยประกันภัยดังกล่าวจะ สามารถเบิกเป็นค่าใช้จ่ายในการ ฝึกอบรมได้หรือไม่
คำถาม ส่วนราชการจัดฝึกอบรมโครงการพัฒนาความรู้ด้าน กฎหมายต่างประเทศโดยให้มีการศึกษาดูงานที่ประเทศ ออสเตรเลีย ระหว่างวันที่ 13 - 19 กันยายน 2558 และส่วน ราชการได้จ้างบริษัททัวร์ดำเนินการในการเดินทางไปศึกษาดู งาน ปรากฎว่ามีข้าราชการ 1 ราย ไม่สามารถเดินทางไปร่วม ศึกษาดูงานได้เนื่องจากมารดาป่วยกะทันหันและเสียชีวิตจึงต้อง อยู่จัดพิธีศพมารดา ทั้งนี้ ส่วนราชการได้ถือปฏิบัติตามระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ อยากทราบ ว่าค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปศึกษาดูงานของข้าราชการราย ดังกล่าวจะสามารถเบิกจ่ายจากเงินงบประมาณได้หรือไม่
คำถาม สำนักงานปลัดกระทรวงจัดโครงการพัฒนา ข้าราชการที่อยู่ระหว่างทดรองราชการใน กระบวนการอบรมสัมมนาร่วมกันให้หน่วยงานใน กำกับดูแล 3 หน่วยงาน ซึ่งไม่ได้ตั้งงบประมาณไว้ อยากทราบว่าสามารถเรียบเก็บค่าลงทะเบียนหรือ ค่าธรรมเนียมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมตาม ข้อบังคับกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินรายได้จากการ จัดฝึกอบรมของส่วนราชการ พ.ศ.2548 จากผู้เข้ารับ การฝึกอบรมทั้ง 3 หน่วยงานดังกล่าวได้หรือไม่