.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
Advertisements

RMC2005.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
Material requirements planning (MRP) systems
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
การซ่อมบำรุงรักษาหนังสือ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
1.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
SMS News Distribute Service
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ทางด้านเครื่องมือแพทย์
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
การวางแผนกำลังการผลิต
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ระบบการบำรุงรักษาในโรงงานอุตสาหกรรม รหัสวิชา IEM3306 Industrial Maintenance System อาจารย์ผู้สอน อ.สมศักดิ์ มีนคร Mobile: 089-8150933 .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

ช่วงเวลาของการบำรุงรักษา .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ช่วงเวลาของการบำรุงรักษา ยุคแรก 1940-1950 - ไม่มีการใช้เครื่องจักรกลมากนัก - ระยะเวลาการหยุดเครื่องยังไม่มีผลกระทบที่รุนแรง - อุปกรณ์ต่างๆ มีการออกแบบเผื่อมากระบบมีความน่าเชื่อถือ - ง่ายต่อการซ่อมบำรุงไม่จำเป็นต้องจัดระบบงานบำรุงรักษา - การทำความสะอาด และการหล่อลื่น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

ช่วงเวลาของการบำรุงรักษา .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ช่วงเวลาของการบำรุงรักษา ยุคที่สอง 1960-1970 - มีการใช้เครื่องจักรกลจำนวนมากหลายชนิด - ระยะเวลาการหยุดเครื่องมีผลกระทบที่รุนแรง - อุปกรณ์ต่างๆ มีการออกแบบที่ซับซ้อนมากขึ้น - ยากต่อการซ่อมบำรุงจำเป็นต้องจัดระบบงานบำรุงรักษาที่ดี - สู่แนวคิด “ความขัดข้องของอุปกรณ์สามารถป้องกันได้ หรือ Preventive Maintenance” - PM เป็นแนวทางการบำรุงรักษาใหญ่ (Overhaul) .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

ช่วงเวลาของการบำรุงรักษา .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ช่วงเวลาของการบำรุงรักษา ยุคที่สาม 1980-2000 - กระบวนการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมมีแรงขับที่มุ่งไปข้างหน้าสูงมาก - สามารถคาดหวังอะไรได้จากการบำรุงรักษา - เกิดการค้นคว้าวิจัยใหม่เปลี่ยนความเชื่อเดิมเรื่องอายุของเครื่องจักร - เทคนิค/เทคโนโลยีต่างๆ ที่ใช้เน้นความน่าเชื่อถือ และความสามารถในการบำรุงรักษา - เกิดการบำรุงรักษาประเภทต่างๆ ขึ้น .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

ช่วงเวลาของการบำรุงรักษา .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ช่วงเวลาของการบำรุงรักษา ค.ศ. 1940-2000 .:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ประเภทของการบำรุงรักษา การบำรุงรักษาเมื่อขัดข้อง (Breakdown Maintenance :BM) การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance : PM) การบำรุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง (Corrective Maintenance : CM) การป้องกันการบำรุงรักษา (Maintenance Prevention : MP) การบำรุงรักษาทวีผล (Productive Maintenance : PM) .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 1. Breakdown maintenance การบำรุงรักษาเมื่อขัดข้อง เป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักร เพื่อให้กระบวนการผลิตสามารถดำเนินไปได้โดยตลอด สาเหตุความเสียหายและคุณภาพการใช้งานเครื่องจักร 1. เกิดจากความเสียหายแบบเรื้อรัง เกิดความเบี่ยงเบนจากเหตุการณ์ปกติเพียงเล็กน้อย และถือเป็นเรื่องปกติ 2. เกิดจากความเสียหายแบบฉับพลัน เกิดความเบี่ยงเบนจากเหตุการณ์มาก และถือเป็นความผิดปกติ .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ความเสียหายแบบเรื้อรังและแบบฉับพลัน .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University องค์ประกอบของ BM 1. ระบบการแจ้งเหตุความเสียหาย - มีความรวดเร็วในการแจ้งเหตุ - มีข้อมูลข่าวงานที่เป็นประโยชน์ - มีรายละเอียดครบถ้วน - ผู้แจ้งสามารถวิเคราะห์เบื้ยงต้นได้ 2. การแก้ปัญหาเบื้องต้น - มีสติ รอบคอบ กระตือรือล้น - ทำให้เครื่องจักรกลับมาใช้ได้โดยเร็วที่สุด .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University เครื่องจักรหมายเลข................................................................................................... เวลาเสียหาย.......................................... เวลาแจ้งซ่อม............................................. ระบบที่เสียหาย  ระบบไฟฟ้า  ระบบควบคุม  ระบบกลไก  ระบบหล่อเย็น ลักษณะอาการเบื้องต้น............................................................................................... ................................................................................................................................... ผู้แจ้งซ่อม.............................เบอร์โทรศัพท์...................... .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University องค์ประกอบของ BM 3. การแก้ปัญหาที่สาเหตุ - หาสาเหตุที่แต้จริงของการเกิด BM - หาวิธีการแก้ไขและป้องกันการเกิดซ้ำ 4. การเขียนรายงานความเสียหาย - เพื่อรายงานความสูญเสียต่อผู้บริหาร - เพื่อทำประวัติการซ่อมของเครื่องจักร - เพื่อเก็บสถิติเพื่อทำ PM .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การวิเคราะห์ด้วยหลัก P-M ( P-M Analysis ) Phenomenon คือ ความแปรปรวนที่เห็นในช่วงที่เกิดความเสียหาย Physical คือ การวิเคราะห์เพื่อให้เข้าใจการทำงานของเครื่องจักรตามหลักฟิสิกส์ P Mechanism คือ เข้าใจระบบกลไกต่างๆ ว่าอะไรคือสิ่งผิดปกติปกติ Man คือ สาเหตุความผิดพลาดที่เกิดจากคน Machine คือ สาเหตุความผิดพลาดที่เกิดจากเครื่องจักร Material คือ สาเหตุความผิดพลาดที่เกิดจากวัสถุดิบ Method คือ สาเหตุความผิดพลาดที่เกิดจากวิธีการ M .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 2. Preventive maintenance การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน เป็นการป้องกันไม่ให้เครื่องจักรเกิดขัดข้องในขณะทำการผลิต โดยการดูแลรักษาเครื่องจักรประจำวันก่อน ขณะ และหลังเดินเครื่อง การปรับเปลี่ยนอุปกรณ์บางอย่างก่อนระบบการผลิตจะเสียหาย โดยให้เวลาหยุดเครื่องจักรเป็นเวลาที่ควบคุมได้ 1. การบำรุงรักษาประจำวัน 2. การบำรุงรักษาตามคาบเวลา 3. การกำหนดเวลาหยุดซ่อม .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University คน ดูแลร่างกายประจำวัน ตรวจสอบตามคาบเวลา การรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ - ทำความสะอาด - ตรวจร่างกายประจำปี - เปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภค - ทานอาหารถูกหลักอนามัย - ตรวจคลื่นหัวใจ - ดูแลร่างกายเป็นพิเศษ - ออกกำลังกาย - ตรวจคลื่นสมอง - ฯลฯ เครื่องจักร การบำรุงรักษาประจำวัน การบำรุงรักษาตามคาบเวลา การกำหนดเวลาหยุดซ่อม - ตรวจเช็คประจำเดือน - กำหนดเวลาเปลี่ยน - หล่อลื่น - ตรวจเช็คความเที่ยงตรง - กำหนดเวลาปรับปรุง - ขันแน่น - ตรวจเช็คใหญ่ประจำปี - เปลี่ยนลักษณะการใช้งาน .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University บริเวณที่ต้องบำรุงรักษา การบำรุงรักษา อุปกรณ์ ทำความสะอาด หล่อลื่น ตรวจสอบ ปรับแต่ง วิธีการ และ มาตรฐานการยอมรับ ก่อนใช้งาน .......................................................... หลังใช้งาน ขณะใช้งาน ........................................................... .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University บริเวณที่ต้องบำรุงรักษา การบำรุงรักษา วิธีการ ทำความสะอาดล้ำลึก หล่อลื่นร่วมศูนย์ การระบายความร้อน ความสั่นสะเทือน ทุกเดือน ................................................. ทุกสามเดือน ทุกหกเดือน .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University ชิ้นส่วน ตามระยะเวลา ตามภาระงาน ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 1..................................................... 2..................................................... 3..................................................... 4..................................................... กำหนดเป็น จำนวนชิ้นงานที่ผลิตได้ จำนวนชั่วโมงการเดินเครื่อง ไม่ต้องคำนึงถึงอายุการใช้งาน กำหนดเป็น จำนวนวันจำนวนเดือน จำนวนปี โดยไม่ต้องคำนึงถึงภาระการใช้งาน .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 3. Corrective maintenance การบำรุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง เป็นการทำให้เครื่องจักรดูแลรักษาง่ายขึ้น ใช้งานง่าย ซ่อมได้ง่าย โดยการกำจัดจุดหรือตำแหน่งต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการดูแลรักษาเครื่องจักร 1. การกำจัดจุดอยากลำบาก 2. การกำจัดแหล่งกำเนิดปัญหา 3. การควบคุมการมองเห็นและป้องกันความผิดพลาด .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University จุดยากลำบาก ลักษณะของจุดยากลำบาก อธิบายความยากลำบาก ทำความสะอาด ตรวจเช็ค หล่อลื่น ปรับแต่ง 1........................ 2........................ 3......................... 4......................... 5......................... .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University แหล่งกำเนิดปัญหา ลักษณะของแหล่งกำเนิด อธิบายถึงแหล่งกำเนิด ความสกปรก ความสั่นสะเทือน อุณหภูมิและเสียง อันตราย 1......................... 2........................ 3......................... 4......................... 5......................... .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 4. Maintenance Prevention การป้องกันการบำรุงรักษา เป็นกิจกรรมที่ทำให้เครื่องจักรต้องการบำรุงรักษาน้อยที่สุดหรือไม่ต้องการเลย เพื่อลดชั่วโมงแรงงานที่ใช้ในการบำรุงรักษา 1. พิจารณาความต้องการการบำรุงรักษาของเครื่องจักร ว่าจุดสำคัญจุดไหนบ้าง แล้วมีความถี่แค่ไหน 2. การบำรุงรักษาต่างๆ เพื่อให้เครื่องจักรผลิตแต่งานที่มีคุณภาพ เพื่อเพิ่มอัตราการใช้งานในระยะยาว .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University อุบัติเหตุที่เครื่องจักรเป็นสาเหตุ ความปลอดภัย การเปลี่ยนชิ้นส่วนเครื่องจักร ความน่าเชื่อถือ การศึกษาเทคโนโลยีเพื่อออกแบบใหม่หรือจัดซื้อ การวิเคราะห์ การใช้งาน การเปลี่ยนหรือติดตั้งอุปกรณ์เสริม ความสามารถในการซ่อมบำรุง การเปลี่ยนกรรมวิธีการผลิต การบำรุงรักษาด้วยตนเอง ชิ้นส่วนที่เป็นปัญหาหรือดูแลยาก จัดลำดับความสำคัญของชิ้นส่วน การเปลี่ยนมาตรฐานการปฏิบัติงาน ความสามารถในการใช้งาน .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University 5. Productive maintenance การบำรุงรักษาทวีผล เป็นการบำรุงรักษาที่ไม่ใช้รูปแบบการบำรุงรักษาด้วยตัวของมันเอง แต่เป็นการรวมการบำรุงรักษาแต่ละประเภทเพื่อประสิทธิภาพที่ทวีผลในการเตรียมความพร้อม การป้องกัน การปรับปรุง และการออกแบบเพื่อหลีกเลี่ยงการบำรุงรักษา BM+PM1+CM+MP = PM .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

.:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .:: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Suan Sunandha Rajabhat University การบำรุงรักษาทวีผล การบำรุงรักษาเมื่อขัดข้อง การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน การบำรุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง เตรียมพร้อม ป้องกัน ปรับปรุง เท่าที่จำเป็น องค์ประกอบ เป้าหมาย การป้องกันการบำรุงรักษา .:: ทรงปัญญา ศัทธาธรรม นำสังคม .::

1. สมมุติปรากฏการณ์ที่เกิดและวิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับเครื่องจักรด้วยหลัก P-M 2. เขียนจุดยากลำบากและแหล่งกำเนิดปัญหาของเครื่องจักรของตัวเองในแบบฟอร์ม