ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
Advertisements

ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ตัวอย่างแบบฟอร์มการออกแบบกระบวนการ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
กระบวนการของการอธิบาย
การเขียนผังงานเบื้องต้น (Flow chart)
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flow chart)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
สาระการเรียนรู้ ความหมายของอัลกอริทึม วิธีการเขียนผังงานที่ดี
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
ADDIE model หลักการออกแบบของ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart) บทที่ 2 ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)

ผังงาน (Flowchart) เป็นการเขียนอธิบายขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ในลักษณะของรูปภาพ และมีทิศทางแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน ตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย ว่ามีลำดับขั้นตอนในการทำงานอย่างไรบ้าง โดยใช้สัญลักษณ์แสดงถึงจุดที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของส่วนต่าง ๆ ที่สำคัญในระบบของการประมวลผลข้อมูลนั้น

ประโยชน์ของผังงาน 1. สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้ง่าย 2. ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทำให้ง่ายต่อการพิจารณาลำดับขั้นตอนในการทำงานดีกว่าการเขียนในลักษณะข้อความ 3. สามารถใช้ผังงานในการทดสอบความถูกต้องของลำดับขั้นตอนได้ง่าย 4. สามารถนำผังงานมาแก้ไขโปรแกรมที่ผิดได้รวดเร็วขึ้น 5. สามารถใช้ผังงานช่วยในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงโปรแกรมให้มีประสิทธิภาพหรือเหมาะสมกับงานมากขึ้น

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน สัญลักษณ์จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน สัญลักษณ์การกำหนดค่า การคำนวณและการประมวลผล สัญลักษณ์การรับข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก โดยไม่ระบุสื่อ สัญลักษณ์การแสดงค่าของข้อมูลทางจอภาพ

สัญลักษณ์การแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์ สัญลักษณ์ที่ใช้ในการตัดสินใจ สัญลักษณ์การบันทึกข้อมูลทางแป้นพิมพ์ สัญลักษณ์จุดต่อเนื่องภายในหน้าเดียวกัน

สัญลักษณ์จุดต่อเนื่องที่อยู่คนละหน้า สัญลักษณ์การแสดงทิศทางการทำงานของผังงาน สัญลักษณ์การกำหนดค่าต่าง ๆ ล่วงหน้า สัญลักษณ์การติดต่อกับอุปกรณ์โดยตรง

หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังงาน การกำหนดค่าเริ่มแรก (Initialization) เป็นการกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรบางตัว เช่น ตัวแปรที่ใช้ในการคำนวณ การรับข้อมูล (Input) เป็นการรับค่าของตัวแปรที่ระบุอยู่ในขั้นตอนการนำข้อมูลเข้าของการวิเคราะห์งาน ซึ่งการรับข้อมูลจะต้องทำก่อนที่จะนำเอาข้อมูลนั้นไปใช้

การประมวลผล (Process) เป็นการแสดงวิธีการประมวลผลหรือ การคำนวณ ซึ่งจะต้องทำทีละขั้นตอนเรียงตามลำดับ การแสดงค่าของข้อมูล (Output) หรือผลลัพธ์ เป็นการแสดงผลลัพธ์หรือค่าของตัวแปรที่ระบุไว้ในขั้นตอนผลลัพธ์ที่ต้องการของการวิเคราะห์งาน การแสดงค่าของข้อมูลหรือผลลัพธ์ต้องกระทำหลังจากการประมวลผลข้อมูลหรือการรับข้อมูลไว้ในหน่วยความจำ

หลักการใช้สัญลักษณ์ของผังงาน (Flowchart) คือ  1)  ผังงาน (Flowchart) ที่เขียนขึ้น ต้องมีจุดเริ่มต้น และ จุดสิ้นสุด (Start and Stop)  2)  สัญลักษณ์แต่ละรูปจะมีการเชื่อมต่อด้วย ทิศทางการทำงาน (Direction of Flow)  3)  ทิศทางการทำงานจะต้องเริ่มต้นจากจุดเริ่มต้น และจบที่จุดสิ้นสุดเท่านั้น

ตัวอย่างผังงาน