แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
Advertisements

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลการดำเนินงาน PMQA
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
เขตสุขภาพ ที่11.
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
การบริหารและขับเคลื่อน
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
CEO, CCO MIS MIS MIS ณ 2 พค 60 จังหวัดพิจิตร สังคมสุขภาพดี CIPO CIPO
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
Happy work place index & Happy work life index
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว (2560-2579) แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว (2560-2579) โดย นายแพทย์อภิรักษ์ พิศุทธ์อาภรณ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว

M S O P K H ค่านิยมร่วม MOPHSK astery ervice mind riginality ฝึกฝนตนเองให้มีศักยภาพสูงสุด S ervice mind O riginality มีจิตในการบริการที่ดี สร้างสรรค์นวัตกรรม P eople-centered approach K ยึดประชาชนเป็นที่ตั้ง nowledge worker เรียนรู้ และพัฒนาตลอดเวลา H umility มีความอ่อนน้อมถ่อมตน

KPI ยุทธศาสตร์สุขภาพสระแก้ว 2560 - 2579 1. โครงการเตรียมความพร้อมการให้บริการ และบุคลากรเพื่อรองรับการจัดบริการแก่ผู้สูงอายุแบบครบวงจร 1. ร้อยละของสถานบริการทุกระดับที่ผ่านมาตรฐานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุครบวงจร One Stop Service 1.สร้างระบบสุขภาพที่ประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของ 2. โครงการประชารัฐร่วมใจดูแลผู้สูงวัย 2. รอยละของตําบลที่มีระบบสงเสริมสุขภาพดูแลผูสูงอายุ ผูพิการและผูดอยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผานเกณฑ) (PA)รอยละของตําบลที่มีระบบสงเสริมสุขภาพดูแลผูสูงอายุ ผูพิการและผูดอยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผานเกณฑ (PA )รอยละของเด็กอายุ 0-5 ป มีพัฒนาการสมวัย (PA) รอยละของเด็กอายุ 0-5 ป สูงดีสมสวน และสวนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ป (PA )รอยละการตั้งครรภในหญิงอายุ 15 - 19 ป 3. โครงการตำบลพัฒนาการเด็กดี 4. โครงการชวนลูกเล่นตามรอยพระยุคบาท 5. โครงการวัยเรียนวัยรุ่น สดใส วัยทำงานมีคุณภาพชีวิตดี ปี 60 3. ร้อยละของเทศบาล/อบต. ที่มีแผนงานป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น ที่เป็นปัญหาสำคัญในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและมีการดำเนินงานตามแผน 4. ร้อยละของชุมชนที่ดูแลสุขภาพและมีการจัดการภัยคุกคามต่อสุขภาพในชุมชน ลดปัญหาสุขภาพสำคัญในเด็ก วัยเรียน วัยรุ่นของชุมชนได้

KPI ยุทธศาสตร์สุขภาพสระแก้ว 2560 - 2579 6. โครงการพัฒนาการจัดบริการหน่วยบริการปฐมภูมิ 5. ร้อยละ50 ของหน่วยบริการปฐมภูมิ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 6 ระบบงานที่สำคัญ ตามมาตรฐาน HA สู่ PCA 6. หน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์คุณภาพดำเนินงาน รพ.สต.ติดดาว ร้อยละ 50 7. เครือข่ายบริการผ่านเกณฑ์กระบวนการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ (Distric Health System) 8.ประชาชาชนเข้าถึงบริการตามกลุ่มวัยไม่น้อยกว่า 80 9.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ของทีมหมอครอบครัว ได้รับการดูแล ตามมาตรฐาน ในกลุ่ม ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ผู้พิการที่ต้องได้รับการดูแล และเด็ก 0- 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 10. ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดบริการระดับปฐมภูมิไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (PA)รอยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) 2.การจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และเป็นเลิศ รอยละของอําเภอที่มี District Health System (DHS) คุณภาพ 7. โครงการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมและการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนในการจัดการสุขภาพ 11. ร้อยละ 80 ประชาชนรับรู้ กระแสการคัดกรอง และปรับพฤติกรรมสุขภาพ

KPI ยุทธศาสตร์สุขภาพสระแก้ว 2560 - 2579 8. โครงการExcellence center 9. โครงการ Sakaeo First Class Premium Service 12. จำนวนโรงพยาบาลที่จัดระบบบริการแบบ Premium 13. จำนวนโรงพยาบาลที่ให้บริการ Excellent center มะเร็ง /หัวใจ /ทารกแรกเกิด /อุบัติเหตุ/การเปลี่ยนถ่ายอวัยวะ 14. ผู้รับบริการสุขภาพทั้งในและต่างจังหวัดมีข้อมูลการส่งต่อผ่านศูนย์ข้อมูลกลาง โครงการพัฒนาศูนยความเปนเลิศทางการแพทย 2.การจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และเป็นเลิศ 10. โครงการสาธารณสุขสระแก้ว 3 ภาษา (อังกฤษ กัมพูชา ลาว) 15. ร้อยละบุคลากรที่สื่อสารได้ 3 ภาษา 16. ร้อยละของสถานบริการทุกระดับมีช่องทางการสื่อสารเฉพาะผู้รับบริการชาวต่างชาติ 17. ร้อยละของสถานบริการทุกระดับมีภาคีเครือข่ายการสื่อสาร 3 ภาษา รอยละของบุคลากรที่ไดรับการพัฒนาตามเกณฑที่กําหนด 18. ประชาชนเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยและใช้สมุนไพรที่มีมาตรฐาน GMP ได้อย่างครอบคลุม 19. มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5/ปี 20. วิจัยและนวัตกรรมการบริการด้วยแพทย์แผนไทย - จำนวน 1 เรื่อง /ปี/อำเภอ (สำหรับแพทย์แผนไทย) - กรณีศึกษา รพ.สต.ละ 1 เรื่อง (สำหรับผู้ช่วยแพทย์แผนไทย) 11. โครงการยกระดับสถานบริการสุขภาพและผลิตภัณฑ์สมุนไพรให้มีคุณภาพมาตรฐานโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย - จํานวนวัตกรรมที่คิดคนใหม เทคโนโลยีสุขภาพ หรือพัฒนาตอยอดการใหบริการดานสุขภาพ - จำนวนงานวิจัยสมุนไพรที่นำมาใช้จริงทางการแพทย์หรือการตลาดอย่างน้อย 10 เรื่องต่อปี

KPI ยุทธศาสตร์สุขภาพสระแก้ว 60 - 79 21. ร้อยละของบุคลากรที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ MOPH-SK ตามกำหนด 22. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน(Happy work life index) 23. ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีขององค์กรแห่งความสุข(Happy work place index 12. โครงการองค์กรแห่งความสุข (Happiness is all around) 3.การบริหารจัดการองค์กร บุคลากร ทรัพยากร ให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด (PA)รอยละของหนวยงานที่มีการนําดัชนีความสุขของคนทํางาน (Happy Work Life Index) ไปใช้ รอยละของหนวยงานที่มีการนําดัชนีองคกรที่มีความสุข (Happy work place index) ไปใช 24. ระดับความสำเร็จในการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ 25.ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนด 26. อัตราการสูญเสียบุคลากรด้านสุขภาพ 27. ร้อยละของอำเภอที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ 13. โครงการพัฒนาขีดความสามารถของกำลังคนด้านสุขภาพในการสร้างนวัตกรรมสุขภาพสู่ความเป็นเลิศของระบบสาธารณสุข (Health Work Force) - รอยละของบุคลากรที่ไดรับการพัฒนาตามเกณฑที่กําหนด - อัตราการสูญเสียบุคลากรดานสุขภาพ (Loss Rate) - รอยละของอําเภอที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ

KPI ยุทธศาสตร์สุขภาพสระแก้ว 60 - 79 14. โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการให้องค์กรมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล 28. ร้อยละของหน่วยงานทุกระดับมีการบริหารงานในทุกกระบวนงานอย่างมีธรรมาภิบาล 15. โครงการการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ 29. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA 3.การบริหารจัดการองค์กร บุคลากร ทรัพยากร ให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด (PA)รอยละของหนวยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑการประเมิน ITA 16. โครงการเสริมสร้างความมั่นคงทางการเงินการคลัง หน่วยบริการจังหวัดสระแก้ว 30. ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินไม่มีปัญหาการเงินระดับ 7 31. หน่วยบริการสร้างความมั่นคงทางการเงินการคลังจากการเพิ่มรายได้จากผลิตภัณฑ์และบริการด้านสุขภาพ ร้อยละ 5 รอยละของหนวยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน 32. ร้อยละของหน่วยงานการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาวและเทคโนโลยี - หน่วยงานมีการใช้เทคโนโลยี และ application เพิ่มประสิทธิภาพ - คปสอ. ทีมี Data Center ที่ผ่านเกณฑ์ 33. ระดับความสำเร็จการบริหารกำลังคนด้าน IT 34. ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล(สาเหตุการตาย) (PA)รอยละของหนวยบริการผ่านเกณฑคุณภาพขอมูล (ป 2560 เน้นหนักเรื่องการวินิจฉัยสาเหตุการตาย [ill-defined] นอยกวา 20%) 17. โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและทันสมัย

KPI ยุทธศาสตร์สุขภาพสระแก้ว 2560 - 2579 18. โครงการเตรียมความพร้อมบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่าย เพื่อรองรับ การพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่สาธารณสุขชายแดน 35. ร้อยละ 100 ของรพ.ในจังหวัด และร้อยละ 100 ของรพ.สต.ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ มีผู้ประสานงานด้านภาษา (รพ. 9 แห่ง รพ.สต. 6 แห่ง) 36. ร้อยละ 100ของจนท.ผู้รับผิดชอบงานรพ.และรพ.สต.ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ(รพ. 9 แห่ง รพ.สต. 6 แห่ง) 4.การจัดบริหารจัดการสาธารณสุขชายแดน และพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษมีประสิทธิภาพ รอยละการผานเกณฑของหนวยบริการสาธารณสุข สําหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดลอมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑที่กําหนด 19. โครงการพัฒนาระบบจัดการสุขภาพ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การคุ้มครองผู้บริโภค การตอบโต้และเฝ้าระวังโรค และภัยสุขภาพ ระบบบริการ เพื่อพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษและพื้นที่สาธารณสุขชายแดน 37. ร้อยละของสถานบริการได้รับการพัฒนาเพื่อรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 38. ร้อยละของชุมชนและภาคีเครือข่ายในจังหวัดสระแก้วมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและตอบโต้โรคและภัยสุขภาพที่เกิดจากการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษและพื้นที่สาธารณสุขชายแดน สัดสวนของแรงงานตางดาวที่ไดรับการดูแล ปัญหาสุขภาพที่ตรวจพบ

การบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว ปี 2560 การบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว ปี 2560

ปัญหาเฉพาะพื้นที่ ยุทธศาสตร์เครือข่าย กรอบ 20 ปี ปัญหาเฉพาะพื้นที่ ยุทธศาสตร์เครือข่าย แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี Result ระหว่างปี แผนปฏิบัติราชการด้านสุขภาพ จ.สระแก้ว ปี 60 สิ่งที่มากระทบ - กลุ่มงาน(สสจ.) - คปสอ.(รพ./สสอ./รพ.สต.) - หน่วยราชการ - ภาคีเครือข่าย นโยบาย/KPI กระทรวง/เขต ผู้ว่าราชการจังหวัด Action plan ยุทธศาสตร์ งานปกติ ปัญหาเร่งด่วน Monitoring - นิเทศงาน/เฉพาะกิจ/คปสจ/กบห/คปสอ.ติดดาว - ตามรายงานประจำเดือน/43แฟ้ม /HDC/ cockpit/รายงาน ต้องกลั่นกรองตรวจสอบ Evaluation รายปี/5 ปี/20ปี ดู result / ถึงประชาชน - Scorecardถึง - ประชาชน เพิ่มเป็นยุทธศาสตร์ Routine

ปัญหา ยุทธศาสตร์ กระทรวง 4 E จ อ Regulator แผน คปสอ แผน สสจ นโยบาย แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) จังหวัด แผน20 ปี กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.2560-2579) ปัญหา ยุทธศาสตร์สุขภาพ จังหวัดสระแก้ว 4 IS ยุทธศาสตร์ กระทรวง 4 E แผนงาน แผนเงิน แผนคน แผนของ จ อ ต ม คน Regulator สสจ.โซน 4 โซน - Service Provider Board (CIO) (CSO) (CFO) (CHRO) Bord ต่างๆ NCD MCH ปฐมภูมิ 4ดี one health ควบคุมภายใน สธ ชายแดน เขตเศรษฐกิจพิเศษ นิเทศ MIS /Data center - คปสจ /กบห แผน คปสอ แผน สสจ

AREA FUNCTION AGENDA วิจัย นวัตกรรม R2R

Board กรอบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ และการควบคุมกำกับ ประเมินผล รอง 2 เลขา ลอองจันทร์ รอง 1 เลขา กัลยารัตน์ รอง 3 เลขา จามจุรี รอง 4 เลขา สมเกียรติ ยุทธศาสตร์กสธ. P&P Excellent Service Excellent Governance Excellent People Excellent ยุทธศาสตร์จังหวัด 1. สร้างระบบสุขภาพที่ ประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของ 2. การจัดบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพและเป็นเลิศ 4. การบริหารจัดการ องค์กร บุคลากร และทรัพยากร 3. การบริหารจัดการ สาธารณสุขชายแดน และเขตเศรษฐกิจพิเศษ Area Base ตาพระยา โคกสูง เมือง เขาฉกรรจ์ คลองหาด วังน้ำเย็น วังสมบูรณ์ อรัญประเทศ วัฒนานคร Board ปฐมภูมิ ควบคุมภายใน Health literacy CSO CIO CFO CHRO NCD MCH สาธารณสุขชายแดน + เขตเศรษฐกิจพิเศษ 4 ดี one health

การควบคุมกำกับ ติดตามประเมินผล เชื่อมโยง การประเมินผลการปฏิบัติราชการ PA 29 ตัว นโยบาย นพ สสจ KPI ยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัด ปี 60 65 ตัว KPI กระทรวง 96 ตัว Data center KPI เน้นหนัก สระแก้ว KPI ผู้บริหาร รอง นพ สสจ/ ผอ รพ /สสอ/หนก เครือข่ายมอบหมายตัวชี้วัดระดับพื้นที่ Sign PA สิ้น ตค

Data center จังหวัด /อำเภอ เริ่มบันทึกข้อมูล 1 ธค.59 (ตค-พย จัดทำระบบ) รายงานผ่าน คปสจ ทุกเดือน นิเทศประจำปี /นิเทศเฉพาะกิจ/ คปสจ/ กบห คปสอ ติดดาว รพ.สต ติดดาว/ งานวิชาการ วิจัย R2R

ปฏิทินการปฏิบัติงานปี 2560 (3:6:2:1) การดำเนินงาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. จัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ   2. สสจ.ถ่ายทอดแผน+แนวทางการดำเนินงาน 3. นิเทศงาน รอบ 1 รอบ2 4. อบรม/พัฒนา เจ้าหน้าที่ให้แล้วเสร็จในไตรมาส 2 (เน้น conference) 5. จังหวัดดำเนินการตามแผน /พื้นที่ทำงาน 6.ตรวจราชการ รอบ1 7. ประกวด/ประเมิน(ไตรมาสละ 1) 8. ประชุมวิชาการ/เกษียณ 9. ประเมินผลการปฏิบัติราชการ 10. สรุปผลงาน/ประเมิน 11. ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา และ จัดทำแผน หมายเหตุ เป้าหมายการประชุมปี 60 จำนวน 77 ครั้ง (ไม่รวม conference) ประเมิน/ประกวด ไตรมาสละ 1 ครั้ง รวม 6 ครั้ง

แผนงาน/กิจกรรม หน่วยบริการปฐมภูมิ ปีงบประมาณ 2560 แผนงาน/กิจกรรม หน่วยบริการปฐมภูมิ ปีงบประมาณ 2560 ที่ กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1 ทำแผนปฏิบัติราชการ CUP / รพ.สต./เสนอแผนทำแผนเงินบำรุง สสอ. /รพ.สต. (**เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน ปีงบ 2559**)  1-2   2 รณรงค์คัดกรองสุขภาพ ทุกประเภท (ไตรมาส 1) 3 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ไตรมาส2-3) 4 ติดตาม เก็บเตก ผลการปรับเปลี่ยน ฯ 5 จัดกิจกรรมคัดเลือกผลงานระดับอำเภอ เพื่อส่งประกวดจังหวัด เช่น ประกวดวิชาการ ฯ 6 -ประเมินผลปฏิบัติราชการรอบที่ 1/2560 -สรุปผลทำคะแนน ส่งเอกสาร  3-4 7 -ประเมินผลปฏิบัติราชการรอบที่ 2/2560   3-4 1-2 8 รับนิเทศงานจาก สสจ. รอบที่ 1 และ 2   3-4 9 สรุปผลงานประจำปี +ทำแผนปี 61 **หมายเหตุ** โรงเรียนประถมปิด เทอม 1 (10 ต.ค.-31 ต.ค.) 1-2  เทอม 2 (31 มี.ค-15 พ.ค.) 1-2   โรงเรียนมัธยมปิด เทอม 1 (28 ก.ย.-31 ต.ค.) เทอม 2 (31 มี.ค.-16 พ.ค.) อปท.จัดทำแผน+แผนกองทุนสุขภาพ (1-30 มี.ค.) อบท.ประชุมพิจารณาแผน (1-15 พ.ค.) ปฏิทินชุมชน ช่วงฤดูทำนา (ไถปักดำ) ช่วงฤดูทำนา (เก็บเกี่ยว) 2-4  (**หลีกเลี่ยงกิจกรรมนุชมชน)