ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ ปิยะวัติ บุญ-หลง สถาบันคลังสมองของชาติ
วิชาการ 4 ประเภท ของมหาวิทยาลัย(Boyer, 1990) การค้นพบใหม่ (Discovery) การประยุกต์ (Application) การเรียนการสอน (Teaching & Learning) การบูรณาการ (Integration) วิชาการ (Scholarship)
หลักคิด “วิชาการเพื่อสังคม” วิจัย บริการ 1.“ผล” ต่อสังคม “โจทย์” จากสังคม การเรียนการสอน 2. “ผล” ต่อวงการวิชาการ กระบวนการมีส่วนร่วม
ความแตกต่างจาก “วิชาการแบบเดิม” Basic Research Applied Research Translational Research Product or process “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อผู้ใช้”
“วิชาการเพื่อสังคม” “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อผู้ใช้” Publ. Publ. Solutions การเรียนการสอน Basic Research Applied Research “Problem solving” โจทย์ในพื้นที่ “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อผู้ใช้”
“ทำนามให้เที่ยง” “วิชาการเพื่อสังคม” “วิชาการรับใช้สังคม” การทำงานทางวิชาการที่มีโจทย์มาจากสังคม ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม และเกิดประโยชน์ต่อสังคม “วิชาการรับใช้สังคม” ผลงานเพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ “University Engagement” เป็นพันธกิจที่มหาวิทยาลัยพึงมีกับสังคม (ผ่านการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ)
คนที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยแบบเดิม : งานวิชาการรับใช้สังคม : นักวิจัย หน่วยงานต้นสังกัด แหล่งทุน งานวิชาการรับใช้สังคม : Stakeholders ในพื้นที่
“Stakeholders” การกำหนดโจทย์ “โครงการเพิ่มรายได้ของเกษตรกร ผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์” ผู้บริโภค ธกส. ตลาด กลุ่มอื่นๆ ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ กลุ่มผู้ผลิต เกษตรกร นักวิชาการ? ผู้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ “โครงการเครือข่ายเกษตรกรและผู้บริโภคเกษตรอินทรีย์”
บทบาทของนักวิชาการ วิจัยแบบเดิม : หาคำตอบก่อน แล้วถ่ายทอดสู่ชุมชนเพื่อใช้แก้ปัญหา วิชาการรับใช้สังคม ร่วมกับชุมชนในการทบทวนสถานการณ์ เลือกโจทย์ และพัฒนาโจทย์ พัฒนาคำตอบ ทดลองทำร่วมกับชุมชน และปรับคำตอบให้เหมาะสมกับชุมชน ถอดบทเรียน วิเคราะห์/สังเคราะห์สู่วงการวิชาการ
บทบาทของชุมชน ในสายตาของนักวิชาการ วิจัยแบบเดิม : เป็นแหล่งข้อมูล/กลุ่มเป้าหมาย เป็นที่ทดสอบหรือลองใช้ทฤษฎี วิธีการ เครื่องมือ เป็นพื้นที่ถ่ายทอดเทคโนโลยี วิชาการรับใช้สังคม : ชุมชนเป็นพื้นที่เรียนรู้และสร้างความรู้ร่วมกัน ต่างฝ่ายต่างมีความรู้ที่จะมา contribute ต่างฝ่ายต่างมีปัญหา?
วิธีหาคำตอบแบบต่างๆ ชุมชน มหาวิทยาลัย Knowledge Transfer D A A’ E “Academic R” “Participatory R โดยนักวิชาการ” “Participatory R โดยชุมชน” “Empowerment”
ทำไมจึงต้องทำ/ควรทำงานนี้ ? วิจัยแบบเดิม : สร้างความรู้สู่สากล /contribute สู่องค์ความรู้ของมนุษยชาติ -> “knowledge agenda” นำกลับเข้าสู่การเรียนการสอน วิชาการรับใช้สังคม : ช่วยเหลือผู้ที่เสียเปรียบในสังคม เพิ่มคุณค่าความเป็นมนุษย์ ลดความเหลื่อมล้ำ “social agenda” สร้างความภูมิใจ ความหมายให้กับชีวิตของผู้ทำ “values agenda”?
จุดเริ่มต้น : “ทุนเดิม” งานวิจัยแบบเดิม : ทบทวนวรรณกรรม => มองหา “ความใหม่” งานวิชาการเพื่อสังคม : ทบทวนประสบการณ์ของชุมชน + ความรู้ภายนอก => มองหา“คำตอบ”
“เป้าหมาย” ของงานวิชาการเพื่อสังคม “เป้าหมาย” ของงานวิชาการเพื่อสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความรู้วิชาการ โจทย์ของชุมชน ร่วมปฏิบัติการ สรุปผล
“เป้าหมาย” ของงานวิชาการเพื่อสังคม “เป้าหมาย” ของงานวิชาการเพื่อสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่พัฒนาเพิ่มขึ้น ความรู้เชิงวิชาการ ที่ปรับให้เหมาะสมกับบริบท โจทย์ของชุมชน ทดลองปฏิบัติการ ทบทวนผล
ข้อจำกัดเท่าที่ผ่านมา : วิชาการ คำตอบสำหรับชุมชน ข้อค้นพบทางวิชาการ? Basic Research Applied Research “บริการวิชาการ” โจทย์ในพื้นที่ “ผลต่อวงการวิชาการ” “ผลต่อชุมชน”
การสร้างผลงานวิชาการรับใช้สังคม การตั้งโจทย์ -โจทย์ของชุมชน (แก้ปัญหา) -โจทย์ของนักวิชาการ (สงสัย) -โจทย์ของ stakeholders อื่นๆ กระบวนการทำ -อย่างมีส่วนร่วม -ได้รับการยอมรับ การสรุป/เขียน -เพื่อตอบโจทย์ที่ตั้งไว้ -โดยมีหลักฐานยืนยัน (การเปลี่ยนแปลง) -โดยมีหลักคิด/ทฤษฎีอธิบาย (งานวิชาการ)
6. ผลงานวิชาการรับใช้สังคม จัดทำเป็นเอกสาร ที่ปนระกอบด้วยเนื้อหาดังต่อไปนี้ สถานการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลง การมีส่วนร่วมและการยอมรับของกลุ่มเป้าหมาย กระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ความรู้ความเชี่ยวชาญที่ใช้ การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น การคาดการณ์สิ่งที่จะตามมา แนวทางการติดตามและธำรงรักษา
“กระบวนทัศน์” ที่แตกต่าง วิชาการเพื่อสังคม โจทย์จากสถานการณ์จริง ผู้ใช้มีส่วนร่วมคิดร่วมทำ เวลา-ค่าใช้จ่ายพอเหมาะ ปัญหาถูกคลี่คลาย ต่อยอดด้วยสาขาวิชาอื่นๆ ขยายผลไปสู่ผู้ใช้อื่นๆ วิชาการแบบเดิม ความใหม่ของโจทย์ วิธีการตามแบบแผน เวลา-ค่าใช้จ่ายตามแหล่งทุน ผลทำซ้ำได้ ลงลึกในสาขาวิชาเดิม ถูกอ้างอิงโดยนักวิชาการ
Check list การทำงานวิชาการเพื่อสังคม (Transformative worldview, Sweetman, 2010) โจทย์วิจัยมาจากกระบวนการร่วมกับชุมชนหรือไม่? ชุมชนได้มีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน (actively engaged) ในการทำหรือไม่? การเก็บข้อมูลและผลของข้อมูลเกิดประโยชน์กับชุมชนอย่างไร? ได้คำนึงถึงความหลากหลายต่างๆในชุมชนหรือไม่? ผลงานวิจัยได้เปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์เชิงอำนาจในชุมชนหรือไม่? ผลงานได้สร้างความเปลี่ยนแปลงเชิงสังคมในชุมชน/นอกชุมชนอย่างไร?
”คุณภาพ”ของผลงานวิชาการที่ดี มีเป้าหมายชัดเจน (clear goals) –และคู่ควร มีการเตรียมการอย่างเหมาะสม (adequate preparation) –แสดงถึงความเข้าใจในเนื้อหา ใช้วิธีการที่เหมาะสม (appropriate methods) – แสดงถึงความเข้าใจในเครื่องมือทางวิชาการ เกิดผลที่สำคัญ (significant results) – ผลงานนั้นเพิ่มเติมความรู้ให้กับวงการ และผู้อื่นนำไปต่อยอดได้ นำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ (effective presentation) มีการทบทวนวิจารณ์ผลงานของตนเอง (reflective critique)
การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ด้วยผลงานวิชาการรับใช้สังคม ผศ. รศ. ศ. การสอน ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการลักษณะอื่น ผลงานวิชาการรับใช้สังคม
การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ด้วยผลงานวิชาการรับใช้สังคม วิธีดำเนินการ (procedure) ใช้วิธีเดียวกันกับการขอตำแหน่งวิชาการปกติ ไม่ถือว่าเป็นการเปลี่ยนสาขา ตัวผลงาน จัดทำเป็นเอกสาร + สื่อชนิดอื่นๆ เทียบเท่าผลงานวิจัย และผลงานวิชาการในลักษณะอื่น การมีส่วนร่วม ไม่คิดเป็นร้อยละ แต่ให้ระบุบทบาท การเผยแพร่ เผยแพร่อย่างกว้างขวาง โดยประจักษ์ต่อสาธารณะ (ผ่านงานนิทรรศการ การนำเสนอ สื่อมวลชน ฯลฯ)
ลักษณะของผลงานทางวิชาการ (ก.พ.อ.) ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการในลักษณะอื่น บทความวิชาการและบทปริทัศน์ ตำรา หนังสือ ผลงานวิชาการรับใช้สังคม
1. ผลงานวิจัย เป็นงานศึกษาหรืองานค้นคว้าอย่างมีระบบ ด้วยวิธีวิทยาการวิจัยที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชานั้นๆ และมีที่มาและวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล คำตอบ หรือข้อสรุปรวม ที่จะนำไปสู่ความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือการใช้ประโยชน์ (ประกอบด้วยโจทย์ การทบทวนวรรณกรรม วิธีการเก็บข้อมูล วิธีวิเคราะห์ข้อมูล สรุปและอภิปรายผล ฯลฯ) แบ่งเป็น 2 ประเภท บทความวิจัย (“form” ตามวารสาร) รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ต้องมี peer review ต้องมีการเผยแพร่
2. ผลงานวิชาการลักษณะอื่น งานศิลปะและงานสร้างสรรค์ งานแปล ฯลฯ
3. บทความวิชาการและบทความปริทัศน์ ผลงานค้นคว้าที่มีระบบและวัตถุประสงค์ชัดเจน ทำให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือเป็นงานที่ประเมินสถานะล่าสุดทางวิชาการ (state of the art) เฉพาะทาง ที่มีการศึกษาค้นคว้า มีการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ ทั้งทางกว้างและทางลึกอย่างทันสมัย โดยให้ข้อวิพากษ์ที่ชี้ให้เห็นแนวโน้มที่ควรศึกษาและพัฒนาต่อไป เผยแพร่ในวารสารวิชาการ หรือหนังสือรวมบทความวิชาการ (ต้องมี “การบรรณาธิการ”)
4. ตำรา งานวิชาการที่ใช้สำหรับการเรียนการสอนทั้งวิชา ซึ่งเกิดจากการนำข้อค้นพบจากการวิจัย จากทฤษฎี และความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ รวบรวมและเรียบเรียง ประกอบด้วยมโนทัศน์หลักที่เป็นแกนกลาง และมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กัน มีเอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตถภาพตามหลักการเขียนที่ดี ใช้ภาษาที่เป็นมาตรฐานทางวิชาการ และให้ความรู้ใหม่อันเป็นความรู้ที่สำคัญที่มีผลทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่วงการวิชาการนั้นๆ ต้องใช้สอนในรายวิชา
5. หนังสือ งานวิชาการที่เกิดจากค้นคว้าศึกษาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างรอบด้านและลึกซึ้ง มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยมโนทัศน์หลักที่เป็นแกนกลาง และมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กัน ใช้ภาษาที่เป็นมาตรฐานทางวิชาการ ให้ทัศนะของผู้เขียนที่สร้างเสริมความแข็งแกร่งทางวิชาการให้แก่สาขาวิชานั้นๆ ไม่ต้องใช้สอนในรายวิชา แต่ต้องเผยแพร่ไม่น้อยกว่า 4 เดือน ประเภท หนังสือที่นักวิชาการเขียนทั้งเล่ม หนังสือรวบรวมบทความโดยผู้เขียนคนเดียว (ต้องมีการสังเคราะห์แสดงความเชื่อมโยงระหว่างบท) หนังสือรวบรวมบทความโดยผู้เขียนหลายคน (book chapter)
ข้อสังเกต : Form vs. Content Form : how to tell a story บทความวิจัย – บทความวิชาการ ตำรา – หนังสือ Content : what is in the story ผลงานวิชาการรับใช้สังคม
การเผยแพร่ วารสาร Proceedings หนังสือรวมบทความ (ที่มี peer reviewจากต่างสถาบัน)
จุดอ่อนที่พบในบทความ การ review สถานการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลง ไม่เฉพาะเจาะจงกับกลุ่มเป้าหมายหรือสถานการณ์พื้นที่ กระบวนการและเครื่องมือที่ใช้ ไม่มีแหตุผลที่มา และไม่มีการวิเคราะห์ว่าเหตุใดจึงประสบความสำเร็จ/ไม่สำเร็จกับกลุ่มเป้าหมายนี้ ความรู้ความเชี่ยวชาญที่ใช้ ไม่ชัดเจนหรือไม่หนักแน่นพอ ผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ยังไม่ชัดเจน ไม่มีหลักฐานข้อมูลยืนยัน มาตรการหรือกลไกที่จะทำให้การเปลี่ยนแปลงนั้นต่อเนื่อง ยังไม่มี (เพื่อนำไปสู่“ความยั่งยืน”)
บทบาทของมหาวิทยาลัยในการสนับสนุนผลงานวิชาการรับใช้สังคม อนุญาตให้ออกไปทำงาน ตรวจสอบการมีอยู่จริงของผลงานวิชาการรับใช้สังคม และรับรองการใช้ประโยชน์ (หากจำเป็น) สนับสนุนการเผยแพร่ผลงาน (นิทรรศการ, การประชุมวิชาการ, events) อาจแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิด้านชุมชนร่วมพิจารณาผลงานได้อีก 2 คน จัดทำบัญชีรายชื่อ?
สถานภาพปัจจุบัน ของผลงานวิชาการเพื่อสังคม/รับใช้สังคม สถานภาพปัจจุบัน ของผลงานวิชาการเพื่อสังคม/รับใช้สังคม นักวิจัย และทุนวิจัย : มีอยู่บ้างแล้ว นโยบายและการสนับสนุนของมหาวิทยาลัย มีหลายแห่ง การขอตำแหน่งด้วยผลงานวิชาการรับใช้สังคม กำลังอยู่ระหว่างการ process ในมหาวิทยาลัยหลายแห่ง ตัวอย่างกรณีศึกษา engagement 50 กรณี การประชุมวิชาการ มีจัดโดยมหาวิทยาลัยหลายแห่ง (Engagement Thailand ครั้งที่ 3 : มิถุนายน 2559 ที่ มทส.) บัญชีรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ เกณฑ์การประเมินคุณภาพ และการทำความเข้าใจกับผู้ทรงคุณวุฒิ