อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง
Advertisements

ผู้นำจีนยุคใหม่ (New Generation of Leader in China)
Impact of IT on Ethical Issues and society
Structural Capital Students: Nerisa Wangkarat
วช.เพิ่มมูลค่าทรัพย์สินทางปัญญาสู่เชิงพาณิชย์
ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร
แปล Slide. What is WIPO? The World Intellectual Property Organization (WIPO) is a specialized agency of the United Nations. It is dedicated to developing.
SAP Best Practices Prepackaged Industry & Cross-Industry Know-How ความพร้อมใช้งานสำหรับลูกค้าและคู่ค้า ของ SAP.
Programs of the Intel® Education Initiative are funded by the Intel Foundation and Intel. Copyright © 2007, Intel Corporation. All rights reserved. Intel,
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
สมศักดิ์ อาภาศรีทองสกุล คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
การทำให้ดีขึ้น [improvement]
บทที่ 11 กฎหมายและจริยธรรม ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Can we create and own them?
การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
สำนักงานวิจัยนวัตกรรมและพันธมิตร มจธ.
การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
จรรยาบรรณ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพ
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
Techniques of Environmental Law
Gucci v. Guess. Gucci v. Guess Gucci lost the court case in France to GUESS in February 2015 Gucci won the court case in Australia, in September 2015.
โดย พระมหาปรีชา ปภสฺสโร พระวิทยากร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
หลักการและแนวทาง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาและการบริหารราชการ ของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค.
บทที่ 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับ ความรับผิดละเมิด
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ คือ จริยธรรมวิชาชีพ วิชาชีพ มีองค์ประกอบ 4 ประการ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ ก. พ
แนวทางการสร้าง Innovation Ecosystem ในมหาวิทยาลัย
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจออนไลน์
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
เดินหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่ทศวรรษที่ 8
ศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซด์นี้...
ธรรมาภิบาลในภาครัฐ โดย สุธรรม ส่งศิริ.
สิทธิทางปัญญาและจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การบริหารงานและการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
มิติทางสังคมและจริยธรรมสำหรับนักเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ
มิติทางสังคมและจริยธรรมสำหรับนักเทคโนโลยีสารสนเทศ
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
บทที่ 6 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
Review - Techniques of Environmental Law
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดสุรินทร์
Integrated Information Technology
บทที่ 5 การออกแบบวิจัย อ.พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์
เก็บตกวันวาน “สานพลังสร้างมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน”
บทที่ 5 การออกแบบวิจัย อ.พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์
บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีจริยศาสตร์ จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ (ต่อ)
บทที่ ๑ บทนำ วิธีการและมาตรการด้านวิศวกรรมในการควบคุมอุบัติเหตุ
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
บทที่ 7 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
Chapter 4 Peopleware and Ethics บุคลากร และจริยธรรม
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม

ด้วยวิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซที่มีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วนั้นได้ ส่งผลต่อพฤติกรรมเสมือน (Virtual Behavior) จากกลุ่มบุคคลไม่หวังดีที่ได้อาศัย ช่องทางออนไลน์ในการเข้ามาล่วงล้ำสิทธิ์ความเป็นส่วนตัวของมนุษย์มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ประเด็นเรื่องของจริยธรรม สังคม และการเมือง แล้วเราต้องมีการวางกฎระเบียบหรือข้อบังคับอย่างไร เพื่อป้องกันปัญหาเหล่านี้ที่มีผลกระทบมากขึ้นเรื่อยๆ ตามอัตราความเจริญของเทคโนโลยี

อีคอมเมิร์ซกับปัญหาในเรื่องของจริยธรรม สังคม และการเมือง เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ในเรื่องการใช้งานอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซ ได้ส่งผลกระทบต่อประเด็นในเรื่องจริยธรรมสังคมและการเมือง ในระดับที่หลายๆคนคาดไม่ถึง โดยสังเกตจากข่าวสารที่เผยแพร่อยู่บนหนังสือพิมพ์ประจำวันและสื่ออื่นๆ ล้วนให้ข่าวที่เกี่ยวกับผลกระทบทางสังคมของอินเทอร์เน็ต ซึ่งเกิดจากตัวเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตรวมถึงวิธีการนำมาใช้ เพื่อให้เกิดผลประโยชน์จากการทำธุรกิจที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนตนเป็นหลัก และการนำเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซมาใช้ ก็ได้ส่งผลต่อสิ่งที่เคยมีอยู่เดิม ทำให้เสียระบบเดิมไม่ว่าจะเป็นในด้านของสังคม ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ และความเข้าใจ

แบบจำลองสำหรับจัดระเบียบปัญหา สิทธิด้านข่าวสาร (Information Rights) เป็นสิทธิ์ส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพในสังคมข่าวสาร โดยสิทธิส่วนบุคคล (Privacy) นั้นเป็นสิทธิของแต่ละบุคคลในการที่จะขออยู่เพียงลำพัง โดยปราศจากการถูกจับตามองหรือถูกรบกวน ซึ่งครอบคลุมทั้งสถานที่ทำงานหรือสิทธิส่วนบุคคลภายในบ้านพักของตนเป็นต้น ทั้งนี้ในการก้าวล้ำสิทธิผู้อื่นด้วยความชอบธรรมนั้น จำเป็นต้องแจ้งให้อีกฝ่ายทราบก่อนเสมอ สิทธิด้านทรัพย์สิน (Property Rights) สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ควรได้รับการคุ้มครอง โดยเฉพาะยุคเทคโนโลยีเว็บและอินเทอร์เน็ต ที่ผู้คนสามารถคัดลอกงานลิขสิทธิ์และนำไปเผยแพร่ได้ทั่วโลก

ระบบอภิบาล (Governance) การกระทำใดๆ ก็ตามบนอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซควรอยู่ภายใต้กฎหมายของรัฐบาล โดยกฎหมายที่ร่างไว้ควรมีขอบเขตชัดเจนว่าอยู่ภายใต้กฎหมายระดับรัฐ ระดับประเทศ และหรือระดับชาติ ความปลอดภัยและความผาสุกของประชาชน (Public Safety and Welfare) ภาครัฐได้เตรียมช่องทางในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและอีคอมเมิร์ซให้กับประชาชนอย่างเป็นธรรมในขณะเดียวกันก็ต้องเข้าไปควบคุมเนื้อหาออนไลน์ โดยเฉพาะสื่อลามกอนาจาร หรือสื่อที่เกี่ยวข้องกับการพนัน รวมถึงภัยคุกคามต่อความปลอดภัยและความผาสุกของประชาชน โดยเฉพาะเรื่องการไม่อนุญาตให้ใช้โทรศัพท์ในขณะขับรถ เพราะมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุในท้องถนนทั้งกับตนเองและผู้อื่น

แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับจริยธรรม จริยธรรม (Ethics) เป็นการศึกษาถึงหลักคุณธรรมในการที่บุคคลและองค์กรสามารถนำไปใช้ เพื่อนำไปสู่ความประพฤติภายใต้เสรีภาพที่มีขอบเขตอันเหมาะสม ดังนั้นจริยธรรมจึงหมายถึงความถูกต้องดีงาม ซึ่งมีอยู่ในธรรมชาติของตัวมนุษย์อยู่แล้ว โดยในทุกๆสังคมจะเป็นผู้กำหนดกฏเกณฑ์หรือกติกาขึ้นมาและนำมาใช้เป็นบรรทัดฐานของตนเองว่าอะไรเป็นสิ่งที่ดี อะไรคือความถูกต้อง และเป็นที่ยอมรับในสังคม ความรับผิดชอบ (Responsibility) เป็นพันธะสัญญาที่ว่าด้วยการทำงานให้แก่บุคคล องค์กร หรือสังคม เพื่อแสดงถึงการรู้จักภาระหน้าที่ของตนที่จะรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย อย่างเต็มความสามารถตามที่ได้ตกลงกันไว้

การมีจิตสำนึกและยอมรับผลการกระทำ (Accountability) หมายถึงการพร้อมที่จะรับผิดและยอมรับผลจากการกระทำในการปฏิบัติหน้าที่ โดยผลการปฏิบัติงานใดๆ ของผู้ใต้บังคับบัญชาจะต้องรายงานผลต่อผู้บังคับบัญชาหรือผู้นำ เพื่อหาผู้รับผิดชอบจากการกระทำที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นบุคคล องค์กร หรือสังคมก็ตาม ทั้งนี้ผู้นำที่ดีย่อมมีจิตสำนึกต่อการยอมรับผลการกระทำในฐานะที่ตนเป็นผู้นำ ซึ่งตรงกันข้ามกับผู้นำที่ไม่ดี ที่คอยออกหน้าเฉพาะผลลัพธ์ของงานออกมาดีเท่านั้น ในขณะเดียวกันเมื่อผลลัพธ์ของงานไม่ดีก็จะปัดความรับผิดชอบไปยังผู้อื่น ความรับผิดชอบในทางกฎหมาย (Liability) เกี่ยวข้องกับกฏหมายที่มีบทบัญญัติว่าด้วยการชดใช้ค่าเสียหายจากการกระทำที่ผิดพลาดแก่บุคคล องค์กร หรือสังคม

กระบวนการทางกฎหมาย (Due Process) เพื่อให้เกิดความยุติธรรมทั้งสองฝ่าย ดังนั้นผู้เสียหายจึงมีสิทธิในการยื่นอุทธรณ์กับเจ้าหน้าที่ระดับสูง เพื่อเรียกร้องให้พิจารณาคดีความเพื่อพิสูจน์ ซึ่งถือเป็นบรรทัดฐานของการนำกฎหมายมาใช้อย่างถูกต้อง ยุติธรรมละได้รับการยอมรับในระดับสากล

อีคอมเมิร์ซกับปัญหาด้านจริยธรรม สิทธิเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property Rights) ผู้เป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา สามารถถูกละเมิดสิทธิ์ได้ง่ายมากบนอินเทอร์เน็ต และจากผลการละเมิดสิทธิ?เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ได้ก่อให้เกิดความสูญเสียเม็ดเงินจำนวนมากแก่เจ้าของสิทธิ์ ความเป็นส่วนตัว (Privacy) แหล่งข้อมูลส่วนตัวต่างๆ ของผู้บริโภคที่เกิดจากการเข้าไปทำธุรกรรมที่ผู้บริโภค จำเป็นต้องกรอกข้อมูลสำคัญต่างๆ ลงในแบบฟอร์ม ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลทางการเงิน รวมถึงแหล่งจัดเก็บข้อมูลต่างๆบนอินเทอร์เน็ต อาจได้รับการถูกเผยแพร่ซึ่งถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิ์ความเป็นส่วนตัวของผู้บริโภคโดยไม่ได้รับการอนุญาตจากเจ้าของ

เสรีภาพในการพูดและการระงับ จัดเป็นประเด็นปัญหา ที่มีความพยายามเข้าไปควบคุมพฤติกรรมอันน่ารักเกียจ การกระทำผิดต่อกฎหมาย และข่าวสารที่อาจเป็นอันตรายบนอินเทอร์เน็ต การโต้เถียงซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งในระดับ บุคคล องค์กร แม้กระทั่งภาคการเมืองโดยการปะทะกันเกิดขึ้นได้จากการมีเสรีภาพในการพูด การป้องกันการฉ้อโกงแก่ผู้บริโภคและผู้ประกอบการ เป็นเรื่องง่ายในการเข้าถึงผู้คนนับล้านบนอินเทอร์เน็ต จึงนำไปสู่ธุรกิจอีคอมเมิร์ซในหลายๆรูปแบบ ดังนั้นสิ่งที่ตามมาคือการฉ้อโกงในรูปแบบต่างๆ ผ่านการใช้เทคโนโลยีดังกล่าว ดังนั้นความสำเร็จของอีคอมเมิร์ซจึงขึ้นอยู่กับกลไกป้องกันการฉ้อโกงให้แก่ผู้บริโภค และผู้ประกอบการด้วย

กฏหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา จะอ้างถึงขอบเขตทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายประเภทต่างๆ ได้แก่ กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายเครื่องหมายการค้า กฎหมายความลับทางการค้า และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น การอนุญาตให้ใช้สิทธิ์หรือการออกใบอนุญาตและการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม นอกจากนี้อาจเกี่ยวข้องกับกฏระเบียบของผลิตภัณฑ์ที่มีผลต่อความรู้สึก รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ โดยมีผลต่อวิชาความรู้ต่างๆ ทั้งงานด้านการแสดงและถ่ายทอดเสียงและภาพ การโฆษณา และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งความคิดสร้างสรรค์ถือเป็นส่วนหนึ่งของโลกธุรกิจที่สมควรได้รับการปกป้อง

ลิขสิทธิ์ (Copyright) หมายถึงสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการกระทำใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ริเริ่มโดยการใช้สติปัญญา ความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตน ในการสร้างสรรค์โดยไม่ได้ลอกเลียนแบบงานจากผู้อื่น สำหรับงานสร้างสรรค์ตรงตามประเภทกฏหมายลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครองผู้สร้างสรรค์ จะได้รับความคุ้มครองโดยทันทีที่ได้สร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียนมี 9 ประเภท ได้แก่ - งานวรรณกรรม เช่น หนังสือ สิ่งพิมพ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ - งานนาฏกรรม เช่น ท่ารำ ท่าเต้น - งานศิลปกรรม เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพถ่าย - งานดนตรีกรรม เช่น ทำนอง เนื้อร้อง

- งานสิ่งบันทึกเสียง เช่น เทป ซีดี - งานโสตทัศนวัตถุ เช่น วีซีดี ดีวีดี ที่มีภาพหรือแม้กระทั้งภาพและเสียง - งานภาพยนตร์ - งานแพร่เสียงแพร่ภาพ - งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือ ศิลปะ ดังนั้นผู้ละเมิดในงานสร้างสรรค์ที่เข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น โดยไม่ได้รับอนุญาตจาก เจ้าของสิทธิ์จะถือว่าผู้นั้นมีความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์ ผู้ถูกละเมิดสิทธิ์สามารถ ฟ้องร้องต่อผู้ละเมิดฐานผิดกฏหมายละเมิดลิขสิทธิ์ได้

สิทธิบัตร (Patents) หมายถึงหนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) ที่มีลักษณะตามกฎหมายที่กำหนด ถือเป็นสิทธิพิเศษที่ให้ผู้ประดิษฐ์ติดต้นหรือผู้ออกแบบผลิตภัณฑ์ มีสิทธิในการผลิตสินค้าและจำหน่ายสินค้าแต่เพียงผู้เดียวในช่วงระยะเวลาหนึ่ง

เครื่องหมายการค้า (Trademarks) หมายถึงสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายเฉพาะ ที่ใช้ระบุสินค้าหรือบริการให้แก่ผู้บริโภคเพื่อแยกแยะได้ถึงความแตกต่าง โดยเครื่องหมายการค้าสามารถนำไปใช้โดยบุคคล ภาคธุรกิจ หรือ นิติบุคคลอื่นๆ เพื่อแจ้งให้ผู้บริโภคทราบถึงแหล่งที่มา การแยกแยะความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการของตนจากบรรดาสินค้าหรือบริการอื่นๆ นอกจากนี้เครื่องหมายทางการค้ายังปกป้องถึงถ้อยคำ ชื่อ สัญลักษณ์ เสียง กลิ่น หรือสีที่ใช้แยกความแตกต่างในตัวสินค้าและบริการจากผู้ผลิตหือผู้จำหน่าย เพื่อบ่งชี้ถึงแหล่งที่มาของสินค้านั้นด้วย