งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การทำให้ดีขึ้น [improvement]

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การทำให้ดีขึ้น [improvement]"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การทำให้ดีขึ้น [improvement]
สิทธิบัตร Patent การออกแบบผลิตภัณฑ์ Design การประดิษฐ์ Invention ผลิตภัณฑ์ [product] กรรมวิธี [process] การทำให้ดีขึ้น [improvement] Kanya Hirunwattanapong 2008

2 สิทธิบัตรการประดิษฐ์
ความคิดสร้างสรรค์ ทำให้ดีขึ้น Improvement ผลิตภัณฑ์ Product กรรมวิธี Process คุ้มครองความคิดสร้างสรรค์ที่ ก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์หรือลักษณะกายภาพของสิ่งนั้นโดยไม่คำนึงว่าผลิตขึ้นอย่างไร ผู้ทรงสิทธิ บัตรผลิตภัณฑ์มีสิทธิแต่ผู้เดียว ในการใช้หรืออนุญาตให้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตสิ่งของนั้น คุ้มครองความคิดสร้าง สรรค์ที่นำไปสู่กรรมวิธีใหม่ในการผลิตสิ่งของ, คุ้มครองเฉพาะกรรมวิธีที่ขอรับสิทธิบัตรเท่านั้น คุ้มครองความคิดสร้างสรรค์ที่นำไปสู่การทำให้ดีขึ้นซึ่งผลิตภัณฑ์และกรรมวิธี

3 คุณสมบัติการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้
การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ [novelty – world-wide novelty] มีขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น [inventive step] สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม [industrial application] Kanya Hirunwattanapong 2008

4 ลักษณะการประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้ Patentable Inventions มาตรา 5-8
การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ (New) การประดิษฐ์ที่ไม่เป็นงานที่ปรากฏอยู่แล้ว (state of the art) การประดิษฐ์ที่มีขั้นประดิษฐ์สูงขึ้น (inventive step) การประดิษฐ์ที่ไม่เป็นที่ประจักษ์ง่ายแก่บุคคลที่มีความชำนาญในระดับสามัญสำหรับงานประเภทนั้น 3. การประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม (industrial application) สามารถใช้ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม

5 สิ่งประดิษฐ์ใหม่ Novel Inventions
ภายในเวลา 12 เดือน การเปิดเผยที่ผิดกฎหมาย หรือการเปิดเผยโดยผู้ประดิษฐ์ในงานแสดงสินค้ารปท.หรือ โดยราชการ ไม่ถือเป็นการเปิดเผยสาระสำคัญ วันยื่นคำขอฯ Filing Date - สิ่งประดิษฐ์ที่รู้จักหรือใช้แพร่หลายในประเทศ สาระสำคัญได้เปิดเผยในรูปสิ่งพิมพ์หรือ แสดงต่อสาธารณทั้งในและต่างประเทศ -ได้รับสิทธิบัตรแล้วทั้งในและต่างประเทศ -ยื่นขอรับฯในต่างประเทศมากกว่า18 เดือน -ยื่นขอรับฯทั้งในและต่างประเทศและมีการประกาศ โฆษณาคำขอฯ

6 รายการต้องระบุในคำขอรับสิทธิบัตร
ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ์ ลักษณะและความมุ่งหมายการประดิษฐ์ รายละเอียดการประดิษฐ์ที่มีข้อความสมบูรณ์ รัดกุม ชัดแจ้งอันทำให้ผู้ ชำนาญในระดับสามัญสามารถทำและปฏิบัติตาม และต้องระบุวิธีการที่ดีที่สุด 4. ข้อถือสิทธิโดยชัดแจ้ง [claims] 5. รายการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง Kanya Hirunwattanapong 2008

7 ผู้ที่สามารถขอรับสิทธิบัตรไทย (เมื่อมีคุณสมบัติครบตามมาตรา ๑๔)
ผู้ประดิษฐ์ ประดิษฐ์ตามสัญญาจ้าง การประดิษฐ์ร่วมกัน การประดิษฐ์อย่างเดียวกัน

8 การประดิษฐ์ที่ไม่ได้รับการคุ้มครองตาม ก.ม. สิทธิบัตรนี้
จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืช 2. กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 3. ระบบข้อมูลสำหรับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. วิธีการวินิจฉัย บำบัด หรือรักษาโรคมนุษย์ หรือสัตว์ 5. การประดิษฐ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดี อนามัย หรือสวัสดิภาพ ของประชาชน Kanya Hirunwattanapong 2008

9 บุคคลที่จะขอรับสิทธิบัตร
(มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง) มีสัญชาติไทย หรือเป็นนิติบุคคลที่มีสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งในไทย สัญชาติของประเทศที่เป็นภาคีแห่งอนุสัญญา หรือความตกลง ระหว่างประเทศเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิบัตรที่ไทยเป็นภาคีอยู่ด้วย 3. มีสัญชาติของประเทศที่ยินยอมให้คนสญชาติไทยฯ ขอรับสิทธิบัตรได้ 4. มีภูมิลำเนา หรืออยู่ระหว่างการประกอบอุตสาหกรรมหรือ พาณิชยกรรมอย่างแท้จริงในไทย หรือประเทศที่เป็นภาคีฯ Kanya Hirunwattanapong 2008

10 วันขอรับฯในไทย อายุการคุ้มครองสิทธิบัตร
สิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร (Exclusive Right) มาตรา 35, 36 20 ปี วันขอรับฯในไทย สิทธิในการผลิต, ใช้, ขาย, มีไว้เพื่อขายเสนอขาย หรือนำเข้าประเทศซึ่งผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตร หรือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยใช้กรรมวิธีตามสิทธิบัตร ผู้ทรงสิทธิบัตรใช้สิทธิเด็ดขาดเอง หรือ อนุญาตให้คนอื่นใช้สิทธิ

11 ข้อยกเว้นสิทธิเด็ดขาด – ในประเด็นการสิ้นสิทธิ (Exhaustion of Right/First Sale)
มาตรา 36 วรรค 2(7) “การใช้ ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย หรือนำเข้ามาในราชอาณาจักร ซึ่งผลิตภัณฑ์ตามสิทธิบัตร หากผู้ทรงสิทธิบัตรได้อนุญาต หรือยินยอมให้ผลิต หรือขายผลิตภัณฑ์ดังกล่าวแล้ว” การนำเข้าซ้อน (Parallel Import) การนำเข้าสินค้าที่ผลิต/วางขายถูกต้องตามกฎหมายเข้ามายังประเทศ คู่ขนานกับเจ้าของสิทธิบัตรที่ได้ผลิตสินค้านั้น

12 การใช้สิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร ม.48ว.2 (Exclusive Licensee)
อนุญาตให้ใช้สิทธิ ม.38/40/41/45/47/47ทวิ ม.48ว.2 (Exclusive Licensee) การใช้สิทธิเอง ม.36/37/40/43/44 การโอนสิทธิ ม. 38/42 ถูกบังคับให้ใช้สิทธิ ม. 46/48/50 ทวิ ม. 51 การอนุญาต – การโอนสิทธิ ต้องทำเป็นหนังสือจดทะเบียน ม. ๔๑ รัฐใช้เองเพื่อประโยชน์สาธารณูปโภค และภาวะสงคราม ม. 50/51

13 การใช้สิทธิตามข้อถือสิทธิ และการป้องกันการละเมิด ม. 47/47 ทวิ
ยื่นคำขอใช้สิทธิตาม สิทธิบัตร 2 ผู้ทรงสิทธิบัตร 1 ผู้ทรงสิทธิบัตร 2 ยื่นคำขอใช้สิทธิตาม สิทธิบัตร 2 ผู้ทรงสิทธิบัตร 2 ผู้ได้รับอนุญาตใช้สิทธิ จากการบังคับฯ ม.46

14 ขอบเขตของสิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร (ม. 36 ทวิ กฎกระทรวง ฉ
ขอบเขตของสิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร (ม. 36 ทวิ กฎกระทรวง ฉ. 21, 2542) ข้อถือสิทธิ รายละเอียดการประดิษฐ์ รูปเขียน การตีความของขอบเขตข้อถือสิทธิ “ขอบเขตการประดิษฐ์ที่ได้รับความคุ้มครองย่อมคลุมถึงลักษณะของการประดิษฐ์ที่แม้จะมิได้ระบุในข้อถือสิทธิโดยเฉพาะเจาะจงแต่เป็นสิ่งที่มีคุณสมบัติประโยชน์ใช้สอยและทำให้เกิดผลทำนองเดียวกับลักษณะของการประดิษฐ์ที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญฯ ...”

15 มาตรการควบคุมการใช้สิทธิตามสิทธิบัตร
(การบังคับใช้สิทธิ – compulsory licensing) 1. การบังคับใช้สิทธิโดยเอกชน (ม. 46) เจ้าของสิทธิบัตรไม่ใช้สิทธิบัตรตนให้เกิดประโยชน์ตามเวลาที่ก.ม. กำหนด ทั้งนี้มี ผู้พยามขออนุญาตใช้สิทธิพร้อมเสนอค่าตอบแทน เช่นนี้ อธิบดีวินิจฉัยอนุญาตได้ 2. การบังคับสิทธิโดยรัฐ (ม. 51) เพื่อป.ย. การสาธารณูปโภค ... หรือการป้องกันบรรเทาการขาดแคลนอาหารยา ... อย่าง รุนแรง ... กระทรวง ทบวง กรม อาจใช้สิทธิตาม ม. 36 โดยทำเองหรือให้คนอื่นทำ ... แต่ต้องเสียค่าตอบแทนแก่เจ้าของสิทธิบัตร Kanya Hirunwattanapong 2008

16 สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ Design Patent
การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อการอุตสาหกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ต่อไปนี้ ไม่เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ แบบผลิตภัณฑ์ที่มีใช้แพร่หลายแล้วในไทยก่อนวันยื่นขอรับฯ การเปิดเผยภาพ สาระสำคัญ รายละเอียดในเอกสาร ที่เผยแพร่แล้ว ทั้งใน/นอกไทย ก่อนวันยื่นฯ 3. แบบผลิตภัณฑ์ที่เคยมีประกาศโฆษณาแล้ว 4. แบบผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกับแบบผลิตภัณฑ์ฯ ข้างต้น จนเห็นว่าเป็นการเลียนแบบ Kanya Hirunwattanapong 2008

17

18 สิทธิเด็ดขาดของเจ้าของสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
สิทธิบตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ มีอายุการคุ้มครอง 10 ปี นับแต่วันยื่นขอรับสิทธิบัตร สิทธิเด็ดขาดของเจ้าของสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภณฑ์ ใช้ ... ขาย มีไว้เพื่อขาย เสนอขาย หรือนำเข้ามาในไทยซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ใช้แบบผลิตภัณฑ์ ข้อยกเว้นสิทธิเด็ดขาด การใช้แบบผลิตภัณฑ์เพื่อประโยชน์ในการศึกษา วิจัย Kanya Hirunwattanapong 2008

19 อนุสิทธิบัตร (Petty Patent)
การประดิษฐ์ ที่ขอรับอนุสิทธิบัตรได้ เป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ (world-wide novelty) เป็นการประดิษฐ์ที่สามารถประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม (industrial application) อนุสิทธิบัตรมีอายุ 6 ปี นับแต่วันยื่นฯ สามารถต่ออายุได้ 2 ครั้ง ครั้งละ 2 ปี สิทธิเด็ดขาดของเจ้าของอนุสิทธิบัตร มีเช่นเดียวกับสิทธิบัตรทั่วไป รวมถึงข้อยกเว้น และมาตรการควบคุมการใช้สิทธิเด็ดขาด Kanya Hirunwattanapong 2008

20 องค์การระหว่างประเทศที่บริหารกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
World Trade Organisation WTO 1995 World Intellectual Property Organisation WIPO 1970 WIPO & WTO Agreement Trade Related Aspects of Intellectual Property Rights TRIPS Agreement

21 Trade Related Aspects of Intellectual Property Rights
TRIPS Agreement Section 5: Patents Article 27 การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้/สิ่งที่ไม่อาจรับสิทธิบัตรได้ Article 28 สิทธิเด็ดขาดของผู้ทรงสิทธิบัตร Article 29 เงื่อนไขการขอรับสิทธิบัตร Article 30 ข้อยกเว้นของสิทธิเด็ดขาด Article 31 การใช้สิทธิบัตรโดยไม่ได้รับอนุญาต Article 32 การเพิกถอนสิทธิบัตร Article 33 อายุการคุ้มครองสิทธิบัตร


ดาวน์โหลด ppt การทำให้ดีขึ้น [improvement]

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google