สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ยินดีต้อนรับ
คำขวัญจังหวัดตรัง เมืองพระยารัษฎา ชาวประชาใจกว้าง หมูย่างรสเลิศ ถิ่นกำเนิดยางพารา เด่นสง่าดอกศรีตรัง ปะการังใต้ทะเล เสน่ห์หาดทรายงาม น้ำตกสวยตระการตา “ชาวตรังใจกว้าง สร้างแต่ความดี” 2
พิพิธพันธ์พระยารัษฎานุประดิษฐ์ พิพิธพันธุสัตว์น้ำราชมงคล อ.สิเกา สถานที่ท่องเที่ยว พิพิธพันธ์พระยารัษฎานุประดิษฐ์ อ.กันตัง สวนพฤกษศาสตร์ภาคใต้ อ.ย่านตาขาว สถานีรถไฟกันตัง พิพิธพันธุสัตว์น้ำราชมงคล อ.สิเกา 3 3
สถานที่ท่องเที่ยว วัดถ้ำพระพุทธ ศาลหลักเมืองตรัง อนุสาวรีย์พระยารัษฎานุประดิษฐ์ อ.เมือง ศาลหลักเมืองตรัง ยางพาราต้นแรก อ.กันตัง วัดภูเขาพระยอด บ่อน้ำร้อนควนแคง อ.กันตัง ถ้ำเขาช้างหาย อ.นาโยง 4 4
Waterfall น้ำตกร้อยชั้นพันวัง อ.วังวิเศษ น้ำตกไพรสวรรค์ น้ำตกโตนเต๊ะ อ.ย่านตาขาว น้ำตกโตนเต๊ะ อ.ปะเหลียน น้ำตกสายรุ้ง อ.ย่านตาขาว น้ำตกกะช่อง อ.นาโยง น้ำตกโตนลำปลอก อ.ปะเหลียน น้ำตกโตนตก อ.ปะเหลียน 5
สถานที่ท่องเที่ยว ทางทะเล เกาะรอก เกาะหลาวเหลียง เกาะเชือก เกาะม้า ถ้ำมรกต เกาะกระดาน เกาะมุกด์ หาดปากเมง หาดหยงหลิง 6 6
แผนที่ / การปกครองจังหวัดตรัง พื้นที่ 4,917.519 ตร.กม. แบ่งเป็น 10 อำเภอ 87 ตำบล 22 เทศบาล 99 ชุมชน 77 อบต. 723 หมู่บ้าน 223,740 หลังคาเรือน 8
ข้อมูลประชากร ประชากร 643,072 ชาย 314,856 หญิง 328,216 การนับถือศาสนา ประชากร 643,072 ชาย 314,856 หญิง 328,216 การนับถือศาสนา สัดส่วนของประชากร ที่มา: ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ณ 31 ธค.60 9
จะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี) ปิรมิดประชากร จ.ตรัง อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ของประชากรในจังหวัดตรัง ปี 2556-2560 (จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าบุคคลที่เกิดมาแล้ว จะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี) ที่มา: ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย ณ 31 ธค.60 10 10
สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ/เอกชน รพศ. 1 แห่ง รพช. 8 แห่ง รพ.เฉลิมพระเกียรติฯ 1 แห่ง รพ.เฉพาะทาง (รพ.โรคผิวหนังฯ) 1 แห่ง รพ.สต. 125 แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุข 7 แห่ง ภาครัฐ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง 1 แห่ง วิทยาลัยการสาธารณสุขสิริธร ตรัง 1 แห่ง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12/1 ตรัง 1 แห่ง ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 ตรัง 1 แห่ง โรงพยาบาลโรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จ.ตรัง 1 แห่ง ภาคเอกชน รพ.เอกชน 2 แห่ง คลินิกเอกชน 254 แห่ง ร้านขายยา 150 แห่ง 11 11
สถิติชีพ & สถานะสุขภาพ อัตราเกิด/ตาย/เพิ่มตามธรรมชาติ จังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราเกิด อัตราตาย อัตราเพิ่ม ที่มา : 1.จำนวนเกิด-ตาย จากรายงานสูติบัตร/มรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค. - 31 ธค.) / ปี 2561 (มค.-พย.) 2.ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค. 3.อัตราเกิด-อัตราตายต่อพันประชากร / อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
จำนวน/อัตรา ทารกตาย มารดาตาย ปี 2557-2561 ของจังหวัดตรัง จำนวน/อัตรา ทารกตาย มารดาตาย ปี 2557-2561 ของจังหวัดตรัง ทารกตาย มารดาตาย ลำดับ ปี เกิดมีชีพ จำนวน อัตรา (คน) ต่อพัน ต่อแสน 1 2557 7600 55 7.24 13.16 2 2558 6426 33 5.14 31.12 3 2559 6144 41 6.67 32.55 4 2560 6275 34 5.42 47.81 5 2561 5258 27 0.00 ที่มา : รายงานการคลอด (ก.2) ของ รพศ./รพช. / มรณบัตร-สูติบัตร กระทรวงมหาดไทย หมายเหตุ : อัตราทารกตายต่อเกิดมีชีพพันคน : อัตรามารดาตายต่อเกิดมีชีพแสนคน
อัตราตาย 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราตาย 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราตายต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนตายจากรายงานมรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค. - 31 ธค.) / ปี 2561 (มค.-พย.) 2. อัตราตายต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 14
อัตราตายโรคมะเร็ง 5 อันดับแรก อัตราตายโรคมะเร็ง 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราตายต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนตายจากรายงานมรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค. - 31 ธค.) / ปี 2561 (มค.-พย.) 2. อัตราตายต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 15
อัตราตายโรคหัวใจและหลอดเลือด (I05-I09/I20-I28/I30-I52/I70-I79) 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราตายต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1.จำนวนตายจากรายงานมรณะบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค. - 31 ธค.) / ปี 2561 (มค.-พย.) 2. อัตราตายต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 16
อัตราตายโรคหลอดเลือดในสมอง (I60-I69) 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1.จำนวนตายจากรายงานมรณะบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค. - 31 ธค.) ) / ปี 2561 (มค.-พย.) 2. อัตราตายต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 17
อัตราตายด้วยอุบัติเหตุจราจรของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราตายต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนตายจากมรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (มค. -ธค.) / ปี 2561 (มค.-พย.) 2. อัตราตายต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 18
อัตราตายด้วยโรคปอดบวม แยกรายอำเภอ ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราตายด้วยโรคปอดบวม แยกรายอำเภอ ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราตายต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. จำนวนตายจากรายงานมรณบัตร กระทรวงมหาดไทย (1 มค. - 31 ธค.) ) / ปี 2561 (มค.-พย.) 2. อัตราตายต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 19
อัตราป่วยของผู้ป่วยนอก 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 ที่มา : 1. รายงาน 504-505 (ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม) รายปีงบประมาณ (ตค.-กย) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ. 31 ธค.)
อัตราป่วยของผู้ป่วยใน 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 ที่มา : 1. รายงาน 504-505 (ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม) รายปีงบประมาณ (ตค.-กย) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.)
อัตราป่วยด้วยโรคทางระบาดวิทยา 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราต่อแสนประชากร ที่มา : 1. รายงานระบาดวิทยา รายปี (มค.-ธค) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.)
อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 ปี 2561 มีผู้เสียชีวิตในเดือนมิถุนายน 2 คน (0.31 ต่อแสนประชากร) อ.สิเกา 1 คน / อ.รัษฎา 1 คน อัตราต่อแสนประชากร ที่มา : 1. รายงานระบาดวิทยา รายปี (มค.-ธค) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.)
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก แยกรายอำเภอ ของจังหวัดตรัง ปี 2561 (มค.61- ธค.61) อัตราต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. รายงานระบาดวิทยา รายปี (มค.61-ธค.61) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.60) 24
อัตราป่วยโรคทางระบาดวิทยา 5 อันดับแรก ของจังหวัดตรัง ปี 2561 (มค.61- ธค.61) อัตราต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. รายงานระบาดวิทยา รายปี (มค.61-ธค.61) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.60) 25
อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. รายงานระบาดวิทยา รายปี (มค.-ธค.) 2. อัตราป่วย/ตาย ต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.) 26
อัตราป่วยโรคเลปโตสไปโรซีส แยกรายอำเภอ ของจังหวัดตรัง ปี 2561 (มค.61- ธค.61) อัตราต่อแสนประชากร ระดับประเทศ 18.4 ที่มา : 1. รายงานระบาดวิทยา รายปี (มค.61-ธค.61) 2. อัตราป่วยต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.60) 27
สัดส่วนการให้บริการ จำแนกตามระดับ ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 สัดส่วนการให้บริการ จำแนกตามระดับ ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 ที่มา : 1. จำนวนผู้ป่วยนอก จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ม รายปีงบประมาณ (ตค.-กย.) 2. สัดส่วนการให้บริการแต่ละระดับเทียบเป็นร้อยละจากจำนวนผู้ป่วยนอกทั้งหมด
อัตราการให้บริการ จำแนกตามระดับ ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 อัตราการให้บริการ จำแนกตามระดับ ของจังหวัดตรัง ปี 2557-2561 ที่มา : 1. จำนวนผู้ป่วยนอก จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ม รายปีงบประมาณ (ตค.-กย.) 2. อัตราการให้บริการต่อแสนประชากร (ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.)
อัตราครองเตียงของผู้ป่วยใน ของ รพ.รัฐ จังหวัดตรัง ปีงบฯ 2561 (ตค.-กย.) ที่มา : ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม (ตค.60-กย.61)
รายงานสรุป CMI รพ.รัฐ ในจังหวัดตรัง ปีงบฯ 2561 (ตค.-กย.) ที่มา : ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม (ตค.60-กย.61)
จำนวนผู้ป่วยนอก (ครั้ง :วัน) รพ.รัฐ ของจังหวัดตรัง ปีงบฯ 2561 ที่มา : 1. จำนวนผู้ป่วยนอก จากฐานข้อมูล 43 แฟ้ม (ตค.60-กย.61) 2. ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.60
อัตราส่วนของบุคลากร 1 คน ต่อประชากร ในเขตรับผิดชอบ ปี 2561 อัตราส่วนของบุคลากร 1 คน ต่อประชากร ในเขตรับผิดชอบ ปี 2561 ที่มา : 1. ข้อมูลบุคลากร (รพ.สต.+PCU) จากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรสุขภาพ (Gishealth) 2. ประชากรจากทะเบียนราษฎร์ ณ 31 ธค.60
ลำดับความสำคัญปัญหาสาธารณสุขจังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2562 ลำดับความสำคัญปัญหาสาธารณสุขจังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2562 1. การป่วยด้วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 2. การตายด้วยโรคหัวใจ /หลอดเลือดสมอง 3. การตายด้วยโรคมะเร็ง 4. การบาดเจ็บและการตายด้วยอุบัติเหตุ 5. TB 6. การระบาดด้วยโรคไข้เลือดออก 7. การระบาดของโรคเลปโตสไปโรซีส 8. โรคโลหิตจาง/ภาวะซีดในหญิงมีครรภ์ 9. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น/ตั้งครรภ์ซ้ำ 10. เด็กปฐมวัย&วัยเรียน ฟันผุ
วิสัยทัศน์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง (Vision) “ประชาชนสุขภาพดี บริการมีคุณภาพภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง” พันธกิจ (Mission) ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง 1.ส่งเสริมและพัฒนาภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วม ในการจัดการระบบสุขภาพ 2.พัฒนาระบบบริการและคุณภาพบริการ 3.พัฒนาระบบการบริหารทรัพยาบุคคลด้านสาธารณสุข 4.พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล 35
1. ลดอัตราป่วย/ตาย ด้วยโรคที่เป็นปัญหา 4. การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ 2561-2564 1. ลดอัตราป่วย/ตาย ด้วยโรคที่เป็นปัญหา 2. ประชาชนได้รับบริการ มีคุณภาพและมาตรฐาน 3. บุคลากรมีสมรรถนะ และมีความสุข 4. การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล 36
ประเด็นยุทธศาสตร์ 2561-2564 กลยุทธ์ 1 : ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภค เป็นเลิศ กลยุทธ์ 2 : บริการเป็นเลิศ 3 แผนงาน 16 ตัวชี้วัด 5 แผนงาน 29 ตัวชี้วัด กลยุทธ์ 3 : บุคลากรเป็นเลิศ กลยุทธ์ 4 : บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล 1 แผนงาน 2 ตัวชี้วัด 4 แผนงาน 8 ตัวชี้วัด
ประเด็นกลยุทธ์ 2561-2564 กลยุทธ์ที่ 1 : ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ แผนงานที่ 1 : พัฒนาคุณภาพชีวิตทุกกลุ่มวัย แผนงานที่ 2 : การป้องกัน ควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ แผนงานที่ 3 : เพิ่มประสิทธิภาพการคุ้มครองผู้บริโภค แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม แผนงานที่ 5 : พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการระบบสุขภาพ
ประเด็นกลยุทธ์ 2561-2564 กลยุทธ์ที่ 2 : บริการเป็นเลิศ แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ แผนงานที่ 7 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ แผนงานที่ 8 : การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ กลยุทธ์ที่ 3 : บุคลากรเป็นเลิศ แผนงานที่ 9 : การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
ประเด็นกลยุทธ์ 2561-2564 กลยุทธ์ที่ 4 : บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล แผนงานที่ 10 : การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ แผนงานที่ 11 : การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังของหน่วยงาน แผนงานที่ 12 : การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ แผนงานที่ 13 : การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพ
เข็มมุ่งการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สุขภาพจังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2562 ปัญหาสุขภาพ ระดับจังหวัด รพ.สต. ติดดาว นสค. NCD คุณภาพ IT TB ANCคุณภาพ พชอ. ปัญหาสาธารณสุข ระดับพื้นที่อำเภอ/ตำบล
การจัดการระบบสารสนเทศ (IT) Enable Goals Policy Principle and framework Processes Structure Skills Culture Infrastructure Information IT Relate Goals ฐานข้อมูล รพ.สต ติดดาว ฐานข้อมูล พชอ. ฐานข้อมูล MCH ฐานข้อมูล DM/HT ฐานข้อมูล TB Enterprise Goals รพ.สต ติดดาว พชอ.คุณภาพ ANC คุณภาพ/ตั้งครรภ์ซ้ำ NCD คุณภาพ TB
กรอบการจัดการระบบสารสนเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ปี 2562 สำรวจรายการครุภัณฑ์ที่เสื่อมสภาพ/เปลี่ยนเป็นระบบเช่าแทน พัฒนาระบบ Network (LAN /WAN) เพิ่มประสิทธิภาพในการซ่อมบำรุง การจัดการ Hard ware Project Manager ตรวจสอบข้อมูลในระบบเดิม วิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการข้อมูลเพิ่มเติม จัดทำแผนการปรับปรุง/พัฒนา Software ตามความจำเป็น การจัดการ Software เพิ่มศักยภาพของ Project Manager ในการข้าถึง/วิเคราะห์ข้อมูล กำหนดกระบวนการของระบบข้อมูล Data to Wisdoms จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ชื่นชม การจัดการ ระบบฐานข้อมูล กำหนดภารกิจของศูนย์ ICT สสจ. การจัดการแบบมีส่วนร่วม กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน พัฒนาระบบการจัดการ
สารสนเทศ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของสถานบริการที่สามารถส่งข้อมูลได้ครบถ้วน ตามมาตรฐาน 43 แฟ้ม 2. ร้อยละของสาเหตุการตายที่ไม่ทราบสาเหตุจากการตายทั้งหมด 3. ร้อยละของหัวหน้างานระดับจังหวัด/อำเภอสามารถเข้าถึงข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ พัฒนางานในความรับผิดชอบได้ กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 1.แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ -มีคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร คำสั่ง 3 เดือน 2.ประชุมคณะทำงานฯ/จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -จำนวนรายการข้อมูลที่ได้วิเคราะห์และนำมาเพื่อเสนอในการพัฒนาระบบบริการ/บริหาร 10 ครั้ง/ ปี ธค.- กย. 3.นิเทศ ติดตาม สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพทุกระดับ -มีรายงานการนิเทศ ติดตาม สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลระดับจังหวัด และอำเภอ 2 ครั้ง / ปี ม.ค. มิ.ย. 4.เพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าถึงและการวิเคราะห์ข้อมูลของหัวหน้างานระดับจังหวัด/อำเภอ -ร้อยละของหัวหน้าระดับจังหวัด/อำเภอสามารถเข้าถึงข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพัฒนางานในความรับผิดชอบได้ ร้อยละ 80 ธ.ค. –ก.ย.
สารสนเทศ กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 5.สนับสนุนการพัฒนาโรงพยาบาลให้ผ่านเกณฑ์ประเมิน HAIT - มีคณะทำงานระดับจังหวัด - คณะทำงานรายโรงพยาบาล - การประเมินผลตนเองและแผนพัฒนาตาม มาตรฐาน HAIT - มีการตรวจเยี่ยมและแนะนำโดยคณะกรรมการ Survey ระดับจังหวัด/เขต 10 รพ. 3 เดือน รายไตรมาส ม.ค. / มิ.ย.
บูรณาการพัฒนา รพ.สต.
เป็นเครื่องมือตั้งต้นการพัฒนา ใช้เกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว เป็นเครื่องมือตั้งต้นการพัฒนา
รพ.สต.คุณภาพ 5 ดาว 5 ดี ส่วนที่ 1 บริหารดี หมวด 1 การนำองค์กรและการจัดการดี 1.1 ภาวะผู้นำ การนำ ธรรมาภิบาล 1.2 แผนกลยุทธ์ด้านสุขภาพ 1.3 ระบบงาน/กระบวนการที่สำคัญ - การจัดการการเงินและบัญชี - การจัดการอาคาร สถานที่ สภาพแวดล้อม - การจัดระบบบริการสนับสนุน หมวด 2 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.1 การได้มาซึ่งปัญหาของชุมชน (ODOP/OTOP) ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ฐานข้อมูลผู้รับบริการ 2.2 ประสานงานภายในเครือข่าย 2.3 ประสานงานภายนอก และภาคีเครือข่าย 2.4 ภาคีเครือข่ายสุขภาพมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ 2.5 ความสัมพันธ์ความพึงพอใจ ของประชากรกลุ่มเป้าหมายชุมชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการจัดการข้อร้องเรียน ส่วนที่ 1 บริหารดี ส่วนที่ 2 ประสานงานดี ภาคีมีส่วนร่วม หมวด 3 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 3.1 มีการจัดการอัตรากำลังด้านสุขภาพ 3.2 มีการสร้างความผาสุกและความพึงพอใจแก่บุคลากร 3.3 มีระบบพัฒนาการเรียนรู้ของบุคลากรและการประเมินผลการการปฏิบัติงาน 3.4 มีการเสริมพลังประชาชนและครอบครัวให้มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง (self care) ส่วนที่ 3 บุคลากรดี ส่วนที่ 4 บริการดี หมวด 4 การจัดระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย 4.1 จัดบริการตามสภาพปัญหาชุมชน ODOP /OTOP 4.2 การบริการในสถานบริการ 4.3 การบริการในชุมชน ส่วนที่ 5 ประชาชนมีสุขภาพดี หมวด 5 ผลลัพธ์ 5.1 บทบาทของบุคคลและครอบครัวในการดูแลตนเอง (Self Care) 5.2 ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด (KPI) 5.3 นวัตกรรม งานวิจัย การจัดการองค์ความรู้
ผลการประชุมหารือ (4 ตุลาคม 2561) #บูรณาการเนื้องานและผลลัพธ์# ค้นหาจุดอ่อนระดับ คปสอ. และระดับจังหวัด ข้อเสนอ เพื่อพัฒนา ทบทวนเพื่อพัฒนา หมวดไหน/ประเด็นใด (รูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน) * ทบทวนผลการประเมิน ปี 61 * แต่ละงานเห็นว่าควรพัฒนา รูปแบบ และกระบวนการ (รอหารือต่อ) ประเมินรับรอง ทบทวนรูปแบบเดิม ลดข้อจำกัดและอุปสรรค อย่างไร ข้อตกลงเรื่องเกณฑ์ * ตามเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต. ติดดาว * ใช้เกณฑ์มาตรฐาน ที่แต่ละงานดูแล พัฒนา รพ.สต. - ผ่านการประเมิน ปี 61 (33 แห่ง) - เป้าหมาย ปี 62 (ร้อยละ 60) ทบทวนคณะทำงานจังหวัด และบทบาท คปสอ. สื่อสารทำความเข้าใจเครื่องมือคุณภาพ พัฒนาทีมสนับสนุน และทีมประเมิน ออกแบบทีมและพัฒนาเครื่องมือ
รูปแบบการพัฒนา ทีมสนับสนุน รพ.สต. การประเมิน การติดตาม
แนวทางการพัฒนา รพ.สต.คุณภาพ หลักการ 1. ใช้เกณฑ์ รพ.สต.ติดดาวเป็นเครื่องมือในการพัฒนา รพสต. 2. ประเมิน รพ.สต.ติดดาว เพื่อหาโอกาสพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น(CQI) 3. บูรณาการเนื้อหาการพัฒนาให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นผู้รับผิดชอบสนับสนุน 4. ให้เครือข่ายใช้เนื้อหาของ รพ.สต.ติดดาวเป็นประเด็นในการนิเทศงานของเครือข่าย 5. กำหนดให้มีคณะทำงานสนับสนุนการพัฒนาและประเมิน รพ.สต.ระดับเครือข่าย (ประกอบด้วยฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว ของ รพ. และ สสอ. รวมทั้งภาคีเครือข่าย) 6. การประเมินรับรอง เครือข่ายต้องลงประเมินรับรองมาก่อน จึงแจ้งผลให้จังหวัด ลงประเมิน 7. จัดองค์กรให้มีคณะทำงานกลางของ สสจ.รับผิดชอบบูรณาการการพัฒนา
รพ.สต.ติดดาว ตัวชี้วัด : ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว (เป้าหมาย 50) กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 1. บูรณาการดำเนินงานร่วมกับกลุ่มงาน/งาน ที่เกี่ยวข้อง คำสั่งคณะทำงาน,เกณฑ์คุณภาพ 1 ทีม 3 เดือน 2.พัฒนาเกณฑ์ รพ.สต ติดดาวกับงานเชิงยุทธศาสตร์ ของกลุ่มงาน ต่าง ๆ เข้าด้วยกันและจัดทำเป็นคู่มือปฏิบัติงานของผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ 1. คู่มือ/เกณฑ์การพัฒนา รพ.สต 2. รพ.สต.มีแผนพัฒนาตามส่วนขาด 1 ฉบับ 125 รพสต. 2 เดือน 3. พัฒนาทีมสนับสนุน/ทีมประเมิน ระดับ คปสอ. และจังหวัด ทีมระดับจังหวัด/อำเภอได้รับการพัฒนา 11 ทีม 6 เดือน 4. สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ รพ.สต. เป้าหมาย ในประเด็นร่วม ประเด็นเกณฑ์ที่ต้องพัฒนาร่วม 10 อำเภอ 5. กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนา ประเมินรับรองระดับอำเภอ,จังหวัด 25 รพ.สต. 6. ทบทวนส่วนขาดเพื่อการสนับสนุนและพัฒนา บทเรียนการพัฒนา รพ.สต. 12 เดือน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) การกำหนดประเด็นคุณภาพชีวิต กระบวนการเมื่อสิ้นปีงบฯ 2561 เมืองตรัง ยังไม่กำหนดประเด็น ประชุมแล้วแต่ยังไม่กำหนดประเด็น กันตัง 1. ตำบลสร้างสุข 5 ดี 2. การจัดการขยะ ยังไม่ออกแผนปฏิบัติการ ย่านตาขาว 1. พัฒนาระบบเศรษฐกิจ (ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้) 2. อาหารปลอดภัย 3. การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส อนุกรรมการมีการประชุมทำแผน ยังไม่ออกแผนปฏิบัติการ ปะเหลียน 1. การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว เริ่มประชุมจัดทำแผน สิเกา 1. อุบัติเหตุจราจร 2. ไข้เลือดออก มีแผนปฏิบัติการ ห้วยยอด 1. การตั้งครรภ์วัยรุ่น 2. การจัดการโรคพิษสุนัขบ้า เริ่มประชุมเรื่องแผน ยังไม่ออกแผนปฏิบัติการ นาโยง 1. ครอบครัวอบอุ่น 2. ส่งเสริมการออกกำลังกาย รัษฎา 1. การจัดการขยะ 2. อาหารปลอดภัย จัดทำแผน ดำเนินการปี 62 วังวิเศษ 1. สิ่งแวดล้อม 2. การศึกษา จัดทำและรอเสนอแผนฯ หาดสำราญ 1. ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง 2. ความสะอาดบ้านเรือน 3. เกษตรอินทรีย์ รอกระบวนการจัดทำแผน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ (เป้าหมาย 70) (PA ปลัดกระทรวงสาธารณสุข) กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 1. เสริมพลังทีมเลขา พชอ. คำสั่งและการประชุมคณะกรรมการ 10 อำเภอ 3 เดือน 2. สสจ. ใช้แผน พชอ.เพื่อเป็นเครื่องมือในการเสริมพลังการแก้ปัญหาคุณภาพชีวิตในระดับอำเภอตามลักษณะงานของกลุ่มงาน/ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง แผนการสนับสนุน พชอ. ของกลุ่มงาน/ฝ่าย ตามบทบาทหน้าที่ ของ สสจ 3. สร้างกลไกเพื่อติดตามและเสริมพลังคณะกรรมการ พชอ. จังหวัด ดำเนินการตามแผนและเกิดผลลัพธ์ 12 เดือน 4. สนับสนุนพื้นที่ ที่มีความพร้อมเพื่อพัฒนาต่อยอดด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม 1.กำหนดพื้นที่เป้าหมายด้วยความสมัครใจดำเนินการ 2.เยื่ยมเสริมพลังในพื้นที่ดำเนินการ สมัครใจ พ.ท.ดำเนินการ 5. ประเมินผล/ถอดบทเรียนการดำเนินงาน เวทีถอดบทเรียน 1 ครั้ง ก.ค.62
ANC คุณภาพ ตัวชี้วัด : อัตรามารดาตายไม่เกิน 17 ต่อแสนการเกิดมีชีพ (PA อธิบดีและผู้ตรวจราชการ) กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 1. ประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กในระดับจังหวัดและอำเภอ - รายงานและแนวทางการดำเนินงานที่ได้จากการประชุม -มีประเด็นการส่งเสริมทันตสุขภาพในระดับอำเภอ อย่างน้อย 1 ครั้ง 3 ครั้ง 4 เดือน 2. พัฒนาระบบฐานข้อมูลและรายงานด้านอนามัยแม่และเด็กให้ถูกต้องเป็นปัจจุบัน - ร้อยละของสถานบริการสาธารณสุขที่มีระบบฐานข้อมูลและรายงานด้านอนามัยแม่และเด็ก ผ่านเกณฑ์ 90 6 เดือน 3 . จัดบริการฝากครรภ์ การคลอดและหลังคลอดที่ได้มาตรฐาน - การฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และครบตามเกณฑ์ -ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน ๑๒ สัปดาห์ -ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกได้รับการตรวจฟัน 60 12 เดือน
ANC คุณภาพ กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win - สอนทันตสุขศึกษา ฝึกแปรงฟัน -ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกและได้รับการสอนทันตสุขศึกษา 65 -ดูแลหญิงมีครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ -ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ 75 12 -หญิงมีครรภ์ได้รับการคลอดจากห้องคลอดที่ได้มาตรฐาน -ร้อยละห้องคลอดที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 70 - หญิงหลังคลอดรับการเยี่ยมตามเกณฑ์ -ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมบ้าน ตามเกณฑ์ 4. การเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะซีด - หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองภาวะซีด / ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและการส่งเสริมภาวะโภชนาการ - หญิงให้นมบุตรได้รับการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองภาวะซีด /ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กอย่างน้อย 6 เดือนและการส่งเสริมภาวะโภชนาการ -ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด -ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและไอโอดีน -ร้อยละของหญิงให้นมบุตรที่ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและไอโอดีน อย่างน้อย 6 เดือน ไม่เกิน 10 100 80
ANC คุณภาพ กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 5. High risk Pregnancy Case (๕ โรคหลัก) ได้รับการดูแล ติดตามและส่งต่อตามมาตรฐาน ร้อยละของ High risk Pregnancy ได้รับการดูแลรักษาตามมาตรฐานโดยแพทย์ประจำโซน 100 12 เดือน 6. การลดความพิการในเด็กแรกเกิดด้วยโฟเลต - นสค./อสม. สำรวจและขึ้นทะเบียน หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่วางแผนจะตั้งครรภ์ - หญิงวัยเจริญพันธุ์ฯได้รับวิตามินโฟลิค ก่อนตั้งครรภ์ อย่างน้อย ๓ เดือน - เฝ้าระวังและตรวจคัดกรองภาวะซีด/ได้รับยา เสริมธาตุเหล็กอย่างต่อเนื่องและการส่งเสริม ภาวะโภชนาการ ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่วางแผนจะตั้งครรภ์ได้รับการขึ้นทะเบียน ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ฯได้รับวิตามินโฟลิคก่อนตั้งครรภ์ อย่างน้อย ๓ เดือน ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ฯได้รับการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองภาวะซีด 90 80 12 เดือน 7. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน อนามัยแม่และเด็กในระดับจังหวัด อำเภอ และรพ.สต ร้อยละของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอนามัยแม่และเด็กที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 6 เดือน
ANC คุณภาพ กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 8. สร้างกระแส/ประชาสัมพันธ์การเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ -ร้อยละของการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน 50 12 เดือน 9. พัฒนาการให้บริการและหน่วยบริการสาธารณสุขตามแนวทางดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต (270 วันและ 180 วัน) -ร้อยละหน่วยบริการสาธารณสุขผ่านเกณฑ์มาตรฐานการดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต 80 10. นิเทศและติดตามประเมินเพื่อพัฒนางานแม่ และเด็ก - ทีมระดับจังหวัดนิเทศติดตามระดับอำเภอ -ทีมระดับอำเภอนิเทศติดตามระดับตำบล -การประเมินมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก -ร้อยละของ รพ./สสอ.ที่ได้รับการนิเทศติดตาม -ร้อยละของ รพ.สต.ที่ได้รับการนิเทศติดตาม -ร้อยละของ รพช.ผ่านเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่ และเด็ก 100 70
NCD คุณภาพ ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 1. พัฒนาระบบข้อมูล - มีการเชื่อมโยงการใช้งานของระบบHDC.และ.Chronic link - การพัฒนาทีมเครือข่ายระดับอำเภอ โดยจังหวัดสนับสนุนการอบรม - มีการนิเทศติดตามการทำงาน - ข้อมูลถูกต้องครบถ้วน 10 อำเภอ 12 2. มาตรการลดผู้ป่วยรายใหม่ - กำหนดแนวทางการจัดการข้อมูล - สอบสวนติดตามผู้ป่วยรายใหม่ - อุบัติการณ์ผู้ป่วยรายใหม่ลดลง
NCD คุณภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วย DM และ HT ที่ควบคุมได้ . : ร้อยละของผู้ป่วย DM และ HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 1. พัฒนารูปแบบการจัดบริการลดปัจจัยเสี่ยงโดยทีมสหวิชาชีพและปฐมภูมิ 2. พัฒนาแนวทางการดูแลส่งต่อเชื่อมโยงชุมชน 3. ประเมินระบบเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเชื่อมโยงชุมชน 4. พัฒนาระบบการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน - มีมาตรฐานแนวทางการจัดบริการควบคุมระดับน้ำตาล/ ความดันโลหิตเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง - มีแนวทางการดูแลรักษา ส่งต่อภายในและภายนอกเครือข่ายที่ชัดเจน - การสะท้อนผลการประเมินระบบเฝ้าระวังระดับอำเภอ - มีระบบข้อมูลที่ถูกต้องและนำมาวิเคราะห์ใช้ได้ 10 อำเภอ 6 เดือน
วัณโรค ตัวชี้วัด : อัตราความสำเร็จของการรักษาในผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ทุกประเภท≥ร้อยละ๘๕ กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 1. เร่งรัดการคัดกรองค้นหาวัณโรคเชิงรุกและวัณโรคดื้อยาในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมาย ร้อยละของความครอบคลุมของการค้นหาผู้ป่วยTB รายใหม่ทุกประเภท > 82.5 ของEstimate case -ดำเนินการคัดกรองเชิงรุกในคลินิกของรพ.ของกลุ่มเสี่ยง ที่เข้ามารับบริการ ได้แก่ ผู้ป่วย DM, COPD, HIV, ผู้สูงอายุ, ต่างด้าว, เรือนจำ ร้อยละของสถานบริการรายงานการคัดกรอง ทุกเดือน 100 6 -ดำเนินการคัดกรองในชุมชน,ชมรมผู้สูงอายุและรายงาน ให้จังหวัดทราบ รายงานผลคัดกรองให้จังหวัดเดือนละ 1 ครั้ง 12 ครั้ง 2.ลดการขาดยาในผู้ป่วยวัณโรค -พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ DOT โดยเจ้าหน้าที่ และติดตามการเยี่ยมบ้านการทำ DOT ร้อยละของอัตราการขาดยาลดลง -ดูแลผู้ป่วยวัณโรคและ MDR ทุกรายร่วมกับทีม PCC ทีมสหวิชาชีพและเครือข่ายในพื้นที่ ร้อยละของอัตราการตายลดลง > 5
วัณโรค กลวิธี/มาตรการ ผลผลิตที่สำคัญ เป้าหมาย Quick Win 3. พัฒนาระบบการส่งต่อและติดตามผลการรักษาทุกราย -พัฒนาระบบฐานขอมูลโปรแกรมTBCM และเครือข่าย ในการติดตามรายงานกรณีผู้ป่วยวัณโรคขาดนัดเป็น รายบุคคล - ระบบฐานข้อมูล 1 ทุกเดือน -ติดตามผู้ป่วยกรณีขาดนัด -ประชุมเชิงปฏิบัติการ DOT MEETING เพื่อติดตาม ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานปีละ 2 ครั้ง -รายงานการประชุม 2 ครั้ง มีค.,กค - จัดตั้งคณะทำงานใน CUP และ ประชุม DOT MEETING รายไตรมาส เพื่อติดตามความก้าวหน้าผล การดำเนินงาน 10 อำเภอ ราย ไตรมาส -ประชุมร่วมกับทีม Service Plan รพ.ตรังวางแผนการ ดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย 4 ครั้ง
คณะกรรมการและคณะทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประจำปี 2562 คณะกรรมการอำนวยการ คทง .IT นพ.สสจ คทง.พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ผชช.ส/ นวก.สธ ชำนาญการพิเศษ การพัฒนาสุขภาพแบบมีส่วนร่วม อำพล/ทรงวุฒิ รพ.สต ติดดาว ปราโมทย์/ทรงวุฒิ คทง.พัฒนามาตรฐานงานสาธารณสุขของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน วัด ผชช.ว. คทง.พัฒนามาตรฐานในสถานประกอบการ คทง.ด้านการจัดการ ผชช.ว/นวก.ชช การพัฒนาระบบการเงินและพัสดุ นวก.สธ.๙/หน.บริหาร PMQA ผชช.ว/ปราโมทย์
ประเด็นการบูรณาการแผนปฏิบัติการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประเด็นการบูรณาการแผนปฏิบัติการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ การพัฒนามาตรฐานสาธารณสุขในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน วัด การพัฒนามาตรฐานสาธารณสุขของสถานประกอบการ
คำรับรองการปฏิบัติราชการของเครือข่ายบริการสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2562 (7 หัวข้อ 23 ตัวชี้วัด) 1. ระบบข้อมูล -ประชากรในทะเบียนราษฏร์ที่บันทึกระบบ HDC(type1&2) -หญิงมีครรภ์ได้รับการขึ้นทะเบียน (HDC:Prenatal) -ผู้ป่วยเบาหวาน/ความดัน ที่ได้ขึ้นทะเบียน (HDC:Chronic) 5. การส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย -หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ -การตรวจคัดกรองพัฒนาการด้วย DSPM -การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี -ผู้สูงอายุได้รับการตรวจประเมินศักยภาพด้วย ADL 2. ระบบบริการปฐมภูมิ -รพ.สต ผ่านการประเมินระดับ 5 ดาว -การจัดการระบบสุขภาพแบบมีส่วนร่วมของเครือข่าย 6.ระบบบริการ SERVICE -RDU -ผู้ติดยาเสพติด ได้รับการติดตามดูแล (Retention Rate) 3.ระบบควบคุมโรคไม่ติดต่อ -ผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด -ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ -จำนวนผู้สูบบุหรี่ที่เลิกบุหรี่ 7.ระบบบริหารจัดการ -งบดำเนินงาน ที่เบิกจ่ายได้ -งบลงทุนที่สามารถดำเนินการได้แผน -PMQA -ITA 4.ระบบควบคุมโรคติดต่อและภัยพิบัติ -ผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียนประเภท Active Case -ความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ -ความครอบคลุมของการรับบริการวัคซีน MMR -GREEN & CLEAN Hospital -EOC
ผู้บริหารสาธารณสุขจังหวัดตรัง 66 66
นายบรรเจิด สุขพิพัฒปานนท์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง 67 67
นายสินชัย รองเดช รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง นายสินชัย รองเดช รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) นายธีระศักดิ์ มักคุ้น รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ (ด้านส่งเสริมพัฒนา) -กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค -กลุ่มงานประกันสุขภาพ -งานส่งเสริมสุขภาพ -งานควบคุมโรคไม่ติดต่อ -งานควบคุมโรคติดต่อ -กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข -กลุ่มงานทันตสาธารณสุข -งานพัฒนาทรัพยากรบุคคลและสุขภาพ ภาคประชาชน -งานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย 68 68
นายอาเนช โออิน รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง นายอาเนช โออิน รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ (ด้านบริการทางวิชาการ) นายชวน สองแก้ว รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง -งานบริหารทั่วไป -งานการเจ้าหน้าที่ -งานการเงินและบัญชี -งานพัสดุ -งานธุรการ 69 69
หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค หัวหน้างานพัฒนาทรัพยากรบุคคล (นางสุพัฒรา คงจริง) หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ (นายสมศักดิ์ สรรเกียรติกุล) หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข (นายอนันต์ อัครสุวรรณกุล) หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป (นางธิตาพร แก้วเพ็ง) หัวหน้ากลุ่มงานทันตสาธารณสุข (นางอาภาพรรณี เขมวุฒิพงษ์) หัวหน้างานพัฒนาทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน (นายจำเป็น ชาญชัย) 70
หัวหน้างานส่งเสริมสุขภาพ หัวหน้างานอนามัยสิ่งแวดล้อม หัวหน้ากลุ่มงานนิติการ (นายนรินธร ใบกอเด็ม) หัวหน้างานส่งเสริมสุขภาพ (นายประนอม ตุลยกุล) หัวหน้างานควบคุมโรคติดต่อ (นางประไพ เจริญฤทธิ์) หัวหน้างานควบคุมโรคไม่ติดต่อ (นายศุภชาติ เขมวุฒิพงษ์) หัวหน้างานอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย (นายสันติ ใจจ้อง)
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลตรัง (นางจิรวรรณ อารยะพงษ์) (นางจิรวรรณ อารยะพงษ์) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลห้วยยอด (นายปิยวิทย์ เนกขพัฒน์) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลกันตัง (นายสมเกียรติ พยุหเสนารักษ์) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลย่านตาขาว (นางสาวเพ็ญบุญญา สีชุม) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลปะเหลียน (นายสุภพงษ์ หาญวัฒนกุล)
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนาโยง (นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล) (นายเลิศรัตน์ เอกสถาพรสกุล) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลวังวิเศษ (..........................................) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสิเกา (นายวิชัย สว่างวัน) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลรัษฎา (นายชัยณรงค์ มากเพ็ง) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหาดสำราญ (นายวัชรนันท์ ถิ่นนัยธร)
สาธารณสุขอำเภอเมืองตรัง (………………..……) สาธารณสุขอำเภอกันตัง (นายราชัน อรุณแสง) สาธารณสุขอำเภอย่านตาขาว (นายอุดม ใส้เพี้ย) สาธารณสุขอำเภอปะเหลียน (นายปรีชา ชุมดี) สาธารณสุขอำเภอสิเกา (นายวุฒิชัย ภักดี) สาธารณสุขอำเภอห้วยยอด (นายดำรงค์ แจ้งไข) สาธารณสุขอำเภอวังวิเศษ (นายประทีป ดวงงาม ) สาธารณสุขอำเภอนาโยง (นายไชยา วีระกุล) สาธารณสุขอำเภอรัษฎา (……………………..) สาธารณสุขอำเภอหาดสำราญ (นายสรรเสริญ เส้งขาว) 74
ผู้อำนวยการวิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ตรัง (นางประไพพิศ สิงหเสม) ผู้อำนวยการวิทยาลัยการสาธารณสุข สิรินธร ตรัง (นายไพบูลย์ ชาวสวนศรีเจริญ) หัวหน้าศูนย์ควบคุมโรคติดต่อ นำโดยแมลงที่ 12.3 ตรัง (.......................................) ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12/1 ตรัง (นายวิชัย ปราสาททอง) ผู้อำนวยการโรงพยาบาลโรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จ.ตรัง (นายวรเชษฐ อนันตรังษี) 75
web site : สสจ.ตรัง www.tro.moph.go.th 76
เราจะทำงานอย่างเต็มกำลังและความคิด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวตรัง ชาวสาธารณสุขตรัง... เราจะทำงานอย่างเต็มกำลังและความคิด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวตรัง
Thank You