ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา 09.30 – 15.00 น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี ชั้น 2 (หลังเดิม)
ระเบียบวาระที่ 1. เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ ประชุมทราบ. มติ ครม ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ ประชุมทราบ มติ ครม. วันที่ 21 สิงหาคม 2561 เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการให้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ (นายอนันต์ สุวรรณรัตน์) ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานประชุม ครั้งที่ 4/2561 วันที่ 19 มิถุนายน 2561 ส่งให้คณะอนุฯ รับรองรายงานการประชุมเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2561 และให้ตอบกลับภายในวันที่ 23 กรกฎาคม 2561 ไม่มีแก้ไข (หากต้องการทราบรายละเอียดสามารถดาวน์ โหลดรายงานการประชุมได้ที่ http://bit.ly/opk4-61
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 รายงานผลการขับเคลื่อนงานโยบายสำคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Agenda Base) 15 เรื่อง จังหวัดอุทัยธานีดำเนินการ 13 เรื่อง ...............................................................................................................
การดำเนินงานโครงการตามนโยบายสำคัญ (Agenda) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดอุทัยธานี ปี 2561 จำนวน 13 โครงการ 7 หน่วยดำเนินงานหลัก งบประมาณทั้งสิ้น 22,894,100 บาท เบิกจ่าย 14,788,283.32 บาท คิดเป็น 64.59 % ดำเนินการแล้วเสร็จจำนวน 3 โครงการ ได้แก่ 1. การส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าและการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตรทดแทนแรงงาน 2. การพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ 3. การช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก การดำเนินงานโครงการตามนโยบายสำคัญ (Agenda) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดอุทัยธานี ปี 2561 โครงการ/กิจกรรม ผลการเบิกจ่าย หน่วยงานรับผิดชอบหลัก เป้าหมาย (บาท) เบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ 1. ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 5,744,000.00 4,552,365.00 79.25 สำนักงานเกษตรจังหวัดอุทัยธานี 2. ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 1,642,680.00 1,416,350.00 86.22 3. พัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer 120,300.00 55,900.00 46.47 4. บริหารจัดการพื้นที่เกษตรตามแผนที่การเกษตรเชิงรุก (Zoning by Agri-map) 7,449,040.00 1,883,558.00 25.29 สถานีพัฒนาที่ดินอุทัยธานี 5. การพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตราฐาน (GAP) 608,310.00 362,485.27 59.59 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรอุทัยธานี 6. เกษตรอินทรีย์ 1,397,300.00 843,983.00 60.40 7. ตลาดสินค้าเกษตร (มูลค่าการขาย) (แผน) 2,400,000 (ผล) 1,709,100 - สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุทัยธานี 8. เกษตรทฤษฏีใหม่ 3,027,870.00 2,840,272.00 93.80 สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุทัยธานี 9. แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร 30,000.00 2,000.00 6.67 ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวชัยนาท 10. การส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าและการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร ทดแทนแรงงาน 2,100,000.00 100.00 11. การพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ 91,800.00 12. ธนาคารสินค้าเกษตร 382,800.00 339,570.05 88.71 13. การช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 300,000.00 รวมทั้งสิ้น 22,894,100.00 14,788,283.32 64.59 ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2561
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.2 รายงานผลการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ยั่งยืน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ...............................................................................................................
ผู้ได้รับประโยชน์/ผู้เข้าร่วมโครงการ โครงการภายใต้โครงการไทยนิยม ยั่งยืน ด้านเกษตร ปี 2561 มี 2 แผนงาน 11 โครงการ หน่วยดำเนินงาน 14 หน่วยงาน งบประมาณทั้งสิ้น 193,580,818.40 บาท เบิกจ่าย 56,636,876.44 บาท คิดเป็น 29.26% ผู้ได้รับประโยชน์/ผู้เข้าร่วมโครงการ งบประมาณ แผนยุทธศาสตร์ปฏิรูปโครงสร้างการผลิตด้านการเกษตร 20,155 ราย แผนยุทธศาสตร์เสริมสร้างคุณภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิต 1,181 ราย 189,203,799.00 บาท เบิกจ่าย 52,753,483.04 บาท คิดเป็น 27.88% 4,377,019.40 บาท เบิกจ่าย 3,883,393.40 บาท คิดเป็น 88.72%
2 แผนงาน แยกตามกิจกรรม เป้าหมาย 193.58 ล้านบาท เบิกจ่าย 56.64 ล้านบาท คิดเป็น 29.26% แยกเป็น 1. จัดหา/จัดจ้าง วงเงิน 184.66 ล้านบาท เบิกจ่าย 50.34 ล้านบาท คิดเป็น 27.84% 6 หน่วยดำเนินการ - ฝาย/แหล่งน้ำ/ถนน 16 แห่ง - โครงสร้างพื้นฐาน 8 รายการ - เครื่องจักร/อุปกรณ์ 6 รายการ - ปัจจัยการผลิต 2 รายการ 2. อบรม 11 หลักสูตร 21,336 ราย วงเงิน 8.92 ล้านบาท เบิกจ่าย 6.11 ล้านบาท คิดเป็น 68.53% 13 หน่วยดำเนินการ ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2561
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.3 การดำเนินงานโครงการเกษตรแปลงใหญ่ จังหวัดอุทัยธานี จำนวน 55 แปลง แบ่งเป็น แปลงใหญ่ปี 2559 จำนวน 7 แปลง แปลงใหญ่ปี 2560 จำนวน 26 แปลง แปลงใหญ่ปี 2561 จำนวน 21 แปลง แปลงใหญ่ปี 2562 จำนวน 1 แปลง แยกเป็น 1) ข้าว 22 แปลง 8) ข้าวโพด 2 แปลง 2) มันสำปะหลัง 8 แปลง 9) ถั่วเหลืองฝักสด 2 แปลง 3) อ้อย 5 แปลง 10) โค 1 แปลง 4) กระบือ 4 แปลง 11) ปลาแรด 1 แปลง 5) มะม่วง 3 แปลง 12) หม่อนไหม 1 แปลง 6) สับปะรด 3 แปลง 13) แพะแกะ 1 แปลง 7) พืชผัก 2 แปลง รวม 13 ชนิดสินค้า (ข้อมูล ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2561)
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.4 การดำเนินงานโครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัยเลือกใช้สินค้า Q จังหวัดอุทัยธานี ปีงบประมาณ 2561 - ร้านใหม่ จำนวน 3 ร้าน - ติดตามร้านเดิม จำนวน 6 ร้าน
จังหวัดอุทัยธานี ปีงบประมาณ 2561 ร้านอาหารที่ได้รับการับรองตามโครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัย เลือกใช้สินค้า Q จังหวัดอุทัยธานี ปีงบประมาณ 2561 ชื่อร้านอาหาร ที่อยู่/เบอร์โทร/พิกัด ประเภทอาหาร วัตถุดิบที่ได้รับรองมาตรฐาน แหล่งผลิต (บริษัท/ฟาร์ม) สินค้า Q สินค้าที่ผ่าน การตรวจรับรอง สินค้ารับรองตนเอง (Self Claim) 1. ร้านรุ่งโภชนา 187 หมู่ที่ 1 ตำบลทัพหลวง อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี เบอร์โทรศัพท์ 061-4863665 ละติจูด 15.085426 ลองติจูด 99.586314 1. ผัดผักกรูดน้ำมันหอย 2. ไก่ผัดพริกไทยดำ 3. ต้นอ่อนทานตะวันผัดน้ำมันหอย ผักกรูด ผู้ใหญ่ณรงค์ อ.บ้านไร่ เนื้อไก่ ร้าน CP fresh mart ต้นอ่อนทานตะวัน ตลาดสดนครสวรรค์ 2. ร้านครัวป้ายแดง 99 หมู่ทื่ 1 ตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี เบอร์โทรศัพท์ 095-9636367 ละติจูด 15.084776 ลองติจูด 99.533518 1. ไก่ทอดสมุนไพร 2. ข้าวคลุกกะปิ ไก่ ข้าว วิสาหกิจชุมชน หมู่ 2 ตำบลสนามคลี อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี หมู กะปิ กะปิตราเรือใบ ไข่ไก่ มะม่วง ปลูกเอง ถั่วผักยาว ตลาดซาวไห้ (ชาวบ้าน) 3. ร้าน ป. กุ้งเผา ซีฟู๊ด สาขาหนองฉาง 141 หมู่ 1 ตำบลหนองฉาง อำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี เบอร์โทรศัพท์ 080-6641635 ละติจูด 15.382225 ลองติจูด 99.834578 1. ปลากระพงทอดน้ำปลา 2. ลาบหมูทอด 3. ต้มยำไก่บ้าน ปลากระพง ร้านตระกูลปลา
ภาพกิจกรรมการลงพื้นที่ตรวจประเมิน
ร้านอาหารที่ได้ตรวจติดตามการรับรองตามโครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัย เลือกใช้สินค้า Q จังหวัดอุทัยธานี ปีงบประมาณ 2561 ชื่อร้านอาหาร ที่อยู่ ประเภทอาหาร วัตถุดิบที่ได้รับรองมาตรฐาน แหล่งผลิต (บริษัท/ฟาร์ม) ประเภท รายการวัตถุดิบที่ผ่านการรับรองในปีที่ผ่านมา 1. ร้านข้าวมันไก่วัดหลวง (สาขา2) 355 หมู่ 3 ตำบลน้ำซึม อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี เบอร์โทรศัพท์ 056-970261, 086-0658521 เมนูที่ 1 ข้าวมันไก่ สินค้า Q เนื้อไก่ - ไกรลาศฟาร์ม 2 สินค้าที่ผ่านการตรวจรับรอง สินค้ารับรองตนเอง (Self Claim) ต้นหอม,แตงกวา,พริกขี้หนู,ขึ้นฉ่าย,ข้าวสาร - ตลาดสดเทศบาลอุทัยธานี 2. ร้านเฟรชชี่ 44/13 ถนนศรีน้ำซึม ตำบลอุทัยใหม่ อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี เบอร์โทรศัพท์ 056-512707 เมนูที่ 1 หมูครีมสลัด เมนูที่ 2 เต้าหู้อบหม้อดิน เมนูที่ 3 ผักหวานไฟแดง - เนื้อหมู, พริกขี้หนู,กระเทียม,น้ำมันทอดซ้ำ,ข้าวสาร - ผักหวาน - ตลาดสดเทศบาลอุทัยธานี - ตลาดสดหนองฉาง 3. ร้านสวนอาหารเพื่อน 99 ถนนพิบูลย์ศิริ ตำบลอุทัยใหม่ อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี เบอร์โทรศัพท์ 056-520120, 086-2027878 เมนูที่ 1 ไก่กลิ้งเกลือ - ตลาดสดเทศบาลอุทัยธานี (มาจากฟาร์มที่ สนง. ปศุสัตว์ให้การรับรอง) น้ำมันทอดไก่
ร้านอาหารที่ได้ตรวจติดตามการรับรองตามโครงการร้านอาหารวัตถุดิบปลอดภัย เลือกใช้สินค้า Q จังหวัดอุทัยธานี ปีงบประมาณ 2561 ชื่อร้านอาหาร ที่อยู่ ประเภทอาหาร วัตถุดิบที่ได้รับรองมาตรฐาน แหล่งผลิต (บริษัท/ฟาร์ม) ประเภท รายการวัตถุดิบที่ผ่านการรับรองในปีที่ผ่านมา 4. ร้านป้าสำราญ เลขที่ 42/1 หมู่ที่ 4 ตำบลเกาะเทโพ อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี เบอร์โทรศัพท์ 056-980085 ละติจูด 15.37365 ลองติจูด 100.07249 เมนูที่ 1 ปลาแรดทอดน้ำปลา เมนูที่ 2 แกงป่าปลา สินค้า Q ปลาแรด,ปลา - ร้านตระกูลปลา สินค้าที่ผ่านการตรวจรับรอง สินค้ารับรองตนเอง (Self Claim) มะเขือ, พริกอ่อน, กระเพรา, พริกแกง - ปลูกเอง - ตลาดสดลานสะแก - ป้าสุจิน ตลาดสดเทศบาล2 5. ร้านครัวน้องทราย เลขที่ 87/1 หมู่ที่ 4 ตำบลเกาะเทโพ อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี เบอร์โทรศัพท์ 084-9905220, 083-4888335, 056-980089 ละติจูด 15.37206 ลองติจูด 100.07257 เมนูที่ 1 ปลาแรดทอดน้ำปลา เมนูที่ 2 หมูผัดสายบัว เมนูที่ 3 ต้มยำไก่ หมู, ปลาแรด, ไก่ - ร้านตระกูลปลา - ร้าน CP fresh mart สายบัว, เครื่องต้มยำ (ข่า, ตะไคร่, ใบมะกรูด) - แม่ค้าชาวบ้าน - ร้าน CP fresh mart - แม่ค้าชาวบ้าน 6. ร้านครัวสมุย By อุษาวดี เลขที่ 205/4 หมู่ที่ 4 ถนนศรีอุทัย ตำบลอุทัยใหม่ อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี เบอร์โทรศัพท์ 056-041042 , 088 293 9294 ละติจูด 15.37901 ลองติจูด 100.03380 เมนูที่ 1 หมูสามชั้นทอดน้ำปลา เมนูที่ 2 ใบเหรียงผัดไข่ หมู, ไข่ไก่ - ร้านเอเชียฟาร์ม ใบเหรียง - แม่ค้าชาวบ้าน
ภาพกิจกรรมการลงพื้นที่ตรวจติดตาม
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 การแก้ไขปัญหาโครงการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล จังหวัดอุทัยธานี ......................................................................................................... .............................................................................................................
4.1.1 การกำหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่ ข้อสั่งการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2561 (ทางไลน์) 1) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอุทัยธานี ในฐานะเลขานุการ อนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพระดับจังหวัด เป็นหน่วยงานหลัก พร้อมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นหน่วยสนับสนุนการดำเนินการ โดยดำเนินการ จำนวน 3 เรื่อง ดังนี้ 1.1) จัดทำแผนงานโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1.2) เร่งรัดส่งเสริมและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกรในพื้นที่โครงการ 1.3) รายงานผลการดำเนินงานพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรค ให้ที่ประชุม อพก. พิจารณาหาทางแก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น 2) มอบสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุทัยธานี จัดประชุม อพก. และนำวาระความก้าวหน้าของโครงการ คทช. เข้าพิจารณา
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4.1.2 ปัญหาที่พบและการแก้ปัญหาในพื้นที่ คทช. ตามข้อเสนอแนะ นายดุลยเดช วัชรสินธุ์ ประจำสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติหน้าที่ประจำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เดินทางมาตรวจเยี่ยมการดำเนินงานโครงการตามนโยบายของรัฐบาล โครงการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.) จังหวัดอุทัยธานี เมื่อวันที่ 22-23 สิงหาคม 2561 ผลจากการตรวจติดตามได้ให้ข้อเสนอแนะในประเด็นที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ที่ ด้าน ปัญหาที่พบ สาเหตุ วิธีการแก้ไข หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 ที่อยู่อาศัย สร้างบ้านแล้วไม่มีผู้เข้ามาอยู่อาศัย (สร้างเสร็จแล้ว จำนวนประมาณ 280 หลัง มีผู้อยู่อาศัยจริงประมาณ 140 หลัง) - มีบ้านเดิมอยู่ใกล้พื้นที่โครงการ - ไม่มีไฟฟ้าเข้าบ้าน ค่าใช้จ่ายในการเดินไฟฟ้าเข้าบ้าน - ระบบน้ำอุปโภค บริโภค - เกษตรยังไม่มีรายได้ที่มั่นคง - ขาดแคลนแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร - ส่งเสริมอาชีพให้เกษตรกรมีรายได้ (ผักปลอดภัย) - ให้บังคับใช้หลักเกณฑ์ เงื่อนไขที่ตกลงร่วมกันในกลุ่ม สก. ,พมจ. 2 อาชีพ มีรวมกลุ่มเป็นแปลงใหญ่แล้ว แต่ไม่เข้มแข็ง (พืชผัก,หม่อนไหม,โค) - ความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่มไม่ตรงกัน (โค) - คัดกรองสมาชิก (โค) สก.,กษจ., ปศ., มม. 3 น้ำ - น้ำประปาหมู่บ้านที่สร้างเสร็จแล้ว แต่ยังไม่สามารถใช้งานได้ - น้ำเพื่อการเกษตรไม่เพียงพอ - ขอรับการสนับสนุนฝนหลวง ส.ป.ก., อบต.ระบำ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้าน ปัญหาที่พบ สาเหตุ วิธีการแก้ไข หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4 เครื่องจักรกล เครื่องจักรกลของ ส.ป.ก. ที่จอดทิ้งไว้นาน ไม่มีการใช้งาน - - ปรับพื้นที่จัดเก็บให้เป็นระเบียบ ส.ป.ก. 5 อื่นๆ ป้ายโครงการ และ ไฟฟ้าส่องสว่าง - บริเวณทางแยกไม่มีแสงสว่าง - ควรจัดทำเป็นป้ายขนาดใหญ่ชัดเจน - ควรมีการติดตั้งไฟฟ้าให้แสงสว่างบริเวณถนนก่อนเลี้ยวเข้าโครงการ ทางหลวงชนบท,อบต ระบำ
สามารถดาวน์โหลดรายงานผลการศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการดำเนินโครงการจัดสรรที่ดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบายของรัฐบาล จังหวัดอุทัยธานี พ.ศ.2561 - ช่วงเวลาสำรวจ ระหว่างวันที่ 26-29 มีนาคม 2561 - สรุปผลและรายงานให้ผู้ว่าราชการจังหวัดอุทัยธานีทราบ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2561
แนวทางการขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน (พ.ศ.2560-2564) ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.2 การขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนในจังหวัดอุทัยธานี และกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 แนวทางการขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน (พ.ศ.2560-2564) 1. ที่มา 1.1 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เป้าหมายที่ 2 ขจัดความหิวโหยบรรลุความมั่นคงทางอาหารสนับสนุนเกษตรกรรมยั่งยืน เป้าประสงค์ที่ 2.4 1.2 กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง) 1.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 2564) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน กำหนดตัวชี้วัดการเพิ่มพื้นที่เกษตรกรรมยั่งยืนเป็น 5 ล้านไร่ในปี 2564 และยุทธศาสตร์ที 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1.4 ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) วิสัยทัศน์ “เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรเกษตรยั่งยืน” ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
แนวทางการขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน (พ.ศ.2560-2564) 2. การขับเคลื่อน 2.1 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ กระทรวงมหาดไทย ได้หารือเบื้องต้นเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2561 ได้กำหนดให้จังหวัดอุทัยธานี เป็นเจ้าภาพในการ ขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ภายใต้กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ตอนล่าง 2 (จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร และจังหวัดอุทัยธานี โดยมีกลุ่มจังหวัด ทั้งสิ้น 18 กลุ่มจังหวัด 2.2 ข้อสรุป “การจัดทำยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน เกษตรกรรมยั่งยืนเชิงพื้นที่” กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยท่านรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายวิวัฒน์ ศัลยกำธร) เมื่อวันที่ 1 – 2 กันยายน 2561 ดังนี้ - พื้นที่เป้าหมายเกษตรกรรมยั่งยืนกลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนล่าง 2 ปี 2564 จำนวน 75,000 ไร่ - พื้นที่เป้าหมายเกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัดอุทัยธานี ปี 2564 จำนวน 20,000 ไร่
แนวทางการขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืน (พ.ศ.2560-2564) 2. การขับเคลื่อน (ต่อ) - โครงการยกระดับเกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัด อุทัยธานี เพื่อรองรับการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ (กลุ่ม จังหวัด) ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 11 กิจกรรม (ต้นทาง – ปลายทาง) วงเงิน 6,600,000 บาท โดยมีหน่วยงาน หลัก คือ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด และ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง พาณิชย์ อปท. และภาคีเครือข่าย - โครงการยกระดับเกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัด อุทัยธานี เพื่อรองรับการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ (จังหวัด อุทัยธานี) ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 11 กิจกรรมวงเงิน 1,650,000 บาท โดยมีหน่วยงานหลัก คือ สำนักงาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุทัยธานี และหน่วยงานในสังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ อปท. และภาคี เครือข่าย เป็นหน่วยงานสนับสนุน
ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) การขับเคลื่อนเกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัดอุทัยธานี ต้นทาง (6 กิจกรรม) ต้นทาง (6 กิจกรรม) ต้นทาง (6 กิจกรรม) - จัดทำฐานข้อมูลเกษตรกรรมยั่งยืน - ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้เพื่อรับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ - อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรด้านการทำเกษตรกรรมยั่งยืน - ส่งเสริมการรับรองมาตรฐานให้แก่กลุ่มเกษตรกร - สร้างเครือข่ายเกษตรกรรมยั่งยืนในจังหวัด - สนับสนุนปัจจัยการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตตามระบบเกษตรกรรมยั่งยืน - เชื่อมโยงตลาด และเพิ่มช่องทางตลาดในการจำหน่ายสินค้าเกษตรตามระบบเกษตรกรรมยั่งยืน - พัฒนาออกแบบบรรจุภัณฑ์ และสนับสนับสนุนบรรจุภัณฑ์ - อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรด้านการแปรรูปสินค้าและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ - จัดงานมหกรรมสินค้าเกษตรตามระบบการทำเกษตรกรรมยั่งยืน - ประชาสัมพันธ์ - ประกาศยกย่องเชิดชูเกษตรกรต้นแบบ งบประมาณ 2562 วงเงิน 1.65 ล้านบาท
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 (อุทัยธานี นครสวรรค์ พิจิตร กำแพงเพชร) -พื้นที่ 39,065 ไร่ (เพิ่มขึ้น 11,000 ไร่) -เกษตรกร กลุ่ม/ราย -โครงการ 1 โครงการ 11 กิจกรรรม - งบประมาณ 6.6 ล้านบาท - งปม. 6.6 ล้านบาท -พื้นที่ 50,065 ไร่ (เพิ่มขึ้น 11,000 ไร่) -งปม. 8.25 ล้านบาท ปี 62 ปี 63 39% 28% กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 (อุทัยธานี นครสวรรค์ พิจิตร กำแพงเพชร) -พื้นที่ 75,000 ไร่ (เพิ่มขึ้น 24,395 ไร่) -งปม. 10.05 ล้านบาท ปี 64 49% FULL FILL ปี 64 -พื้นที่ 75,000 ไร่ -เกษตรกร กลุ่ม/ราย -งปม.. ปี 61 -พื้นที่ 28,065 ไร่ (นว.9,310/กพ. 7,000/อน.10,709/พจ.10,466) -เกษตรกรรมยั่งยืน 5 ประเภท (เกษตรธรรมชาติ /เกษตรอินทรีย์/วนเกษตร/เกษตรผสมผสาน/เกษตรทฤษฎีใหม่) -จำนวนเกษตรกร กลุ่ม/ จำนวนเกษตรกร ราย - จำนวนศูนย์เรียนรู้ -จำนวนหน่วยงานที่พร้อมขับเคลื่อน -พื้นที่ รพ. อำเภอ
จังหวัดอุทัยธานี ปี 61 ปี 64 32% ปี 63 17% ปี 64 ปี 62 20% -พื้นที่ 12,920 ไร่ (เพิ่มขึ้น 2,211 ไร่) -เกษตรกร กลุ่ม/ราย -โครงการ 1 โครงการ 11 กิจกรรรม - งบประมาณ 1.65 ล้านบาท - งปม. 6.6 ล้านบาท -พื้นที่ 15,131 ไร่ (เพิ่มขึ้น 2,211 ไร่) -งปม. 2.06 ล้านบาท ปี 62 ปี 63 20% 17% -พื้นที่ 20,000 ไร่ (เพิ่มขึ้น 4,869 ไร่) -งปม. 2.51 ล้านบาท ปี 64 32% จังหวัดอุทัยธานี ปี 64 -พื้นที่ 75,000 ไร่ -เกษตรกร กลุ่ม/ราย -งปม.. ปี 61 -พื้นที่ 10,709 ไร่ -เกษตรกรรมยั่งยืน 5 ประเภท (เกษตรธรรมชาติ /เกษตรอินทรีย์/วนเกษตร/เกษตรผสมผสาน/เกษตรทฤษฎีใหม่) -จำนวนเกษตรกร กลุ่ม/ จำนวนเกษตรกร ราย - จำนวนศูนย์เรียนรู้ -จำนวนหน่วยงานที่พร้อมขับเคลื่อน -พื้นที่ รพ. อำเภอ
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.3 ความเดือดร้อนของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย ข้อเท็จจริง ขอความช่วยเหลือ แนวทางการแก้ไข นาวาโทกาญจน์ ตันติเวชกุล เกษตรกรผู้ปลูกอ้อยโรงงาน จำนวน 16 ไร่ ได้ผลผลิต จำนวน 150.130 ตัน ราคาตันละ 904.483 บาท รวมเป็นเงิน 135,790.02 บาท บริษัท หักค่าใช้จ่าย 18,917.43 บาท หักหนี้ 116,872.59 บาท คงเหลือ 0 บาท - ไม่ได้รับเงินค่าอ้อย โรงงานแจ้งว่าถูกหักหนี้ของกลุ่มโควตาหมดแล้ว ให้ทวงถามจากสมาชิกในกลุ่มเอง - ปลูกอ้อยโดยไม่เข้าร่วมกลุ่ม จะไม่ได้รับการดูแลเรื่องการตัดอ้อยหรือได้ก็ช้ากว่าสมาชิกที่เข้ากลุ่ม
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.4 โครงการส่งเสริมการปลูกพืชหลังนาโดยใช้กลไกสหกรณ์ ฤดูการผลิต ปี 2561/62 เป้าหมายทั้งประเทศ จำนวน 2,818,773.79 ไร่ จังหวัดอุทัยธานี จำนวน 33,219.39 ไร่
ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ......................................................................................................................