ทิศทางการบริหารจัดการยุทธศาสตร์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
Advertisements

IQA network Why and How to ?
ปฏิญญาอุบลบุรี เราจะร่วมผลักดันบทบาทของกรมอนามัย ในการอภิบาล ระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ เราเห็นพ้องต้องกันต่อการขับเคลื่อน โดยยึดหลัก.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
ประเภทของธุรกิจขายตรง (ครั้งที่ 2) อาจารย์วิไลลักษณ์ มีประชา
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
Health Promotion & Environmental Health
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ
สถิตินิติบุคคลตั้งใหม่ ช่วงเดือน ม.ค – มิ.ย (สนง.ใหญ่)
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
การยกเลิกใช้งานอุปกรณ์ระบุตำแหน่งเรือ
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
แนวทางการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
๕ พัฒนาการของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
การดำเนินงานไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค.61)
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
บทบาทของ สสจ" ในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบัน
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
CEO, CCO MIS MIS MIS ณ 2 พค 60 จังหวัดพิจิตร สังคมสุขภาพดี CIPO CIPO
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
นโยบายทันตสาธารณสุขกับระบบงานปฐมภูมิ
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านหาด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
เรื่องชนเผ่าในจังหวัดมุกดาหาร
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
การบูรณาการการปฏิบัติงานด้านกากอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
โรงพยาบาลนนทเวช.
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
การรายงานผลการดำเนินงาน
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการบริหารจัดการยุทธศาสตร์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม นางสาวสิริวรรณ จันทนจุลกะ ผู้แทนสายอนามัยสิ่งแวดล้อม ณ บางกอกกอล์ฟ สปา รีสอร์ท วันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๕๕

หัวข้อสำคัญ นโยบายและทิศทางของรองอธิบดี กรม อนามัย (นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์) หลักการทำงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องที่มีผลต่องานอนามัย สิ่งแวดล้อม ทิศทางในอนาคตและการขับเคลื่อนงาน

นโยบายและทิศทางของรองอธิบดี กรมอนามัย (นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์) งานตามประเด็นยุทธศาสตร์ด้าน Env.H. ๓ ประเด็น ๖ โครงการสำคัญ บูรณาการกับการส่งเสริมสุขภาพ ตามกลุ่มวัยและ Setting ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ) ๑.คุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพประชาชน ๒.ลดความเสี่ยงด้าน Env.H.จากการ จัดบริการ ๓. พัฒนาสุขาภิบาลยั่งยืน ผสานเข้ากับแนวทางการดำเนินงาน P&P โดยศูนย์เพื่อถ่ายทอดไปสู่พื้นที่ ระบบ M&E ที่ทันสมัย เชื่อถือได้ มีความเชื่อมโยง ตอบสนองการทำงาน/แก้ไขปัญหาได้ ให้สามารถเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

ขอบเขตเนื้อหา & พื้นที่ ระบบติดตามและการรายงานผล แนวทางดำเนินงาน ขอบเขตเนื้อหา & พื้นที่ ดำเนินการตามโครงการสำคัญ ๖ โครงการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม เน้นบูรณาการตาม Setting /กลุ่มวัย และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ถ่ายทอดให้พื้นที่ดำเนินการโดยงบ P&P เตรียมการรองรับ ASEAN COMMUNITY (AC) ระบบติดตามและการรายงานผล ระบบติดตาม/ตรวจสอบข้อมูล โดยสุ่มสำรวจ มีระบบรายงานและแก้ไขปัญหาการทำงาน -ใช้ Mail group - บย.ส่วนกลาง-บย.ศูนย์-ผู้บริหารศูนย์- ส่วนกลาง

หลักการทำงาน ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

อนามัยสิ่งแวดล้อมคืออะไร องค์การอนามัยโลก (WHO, 1993) ได้ให้ ความหมายไว้ว่า “อนามัยสิ่งแวดล้อมเป็นการ ดำเนินงานในสิ่งที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของ มนุษย์ รวมถึงคุณภาพชีวิต (Quality of Life) ทั้งปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมทางด้าน กายภาพ, เคมี, ชีวภาพ, สังคม และจิตวิทยา สังคม โดยการใช้ทฤษฎีและการดำเนินงานเพื่อ ประเมิน, ตรวจสอบ, ควบคุม และป้องกันปัจจัย ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพอนามัยของคนในรุ่นปัจจุบันและคนใน รุ่นอนาคต”

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ Globalization ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว คน

การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ระดับการจัดการ เนื้อหาการจัดการ กลไกการทำงาน ครอบครัว (Family Level) พฤติกรรมอนามัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การสื่อสารสาธารณะสาธารณสุขมูลฐาน กลุ่มสถานที่ (Setting Level) สถานประกอบการ สถานบริการสาธารณะ อปท./ภูมิภาค/ส่วนกลาง (กฎหมาย) ชุมชนและเมือง (Community/ City Level) การจัดบริการสาธารณะด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท./ภูมิภาค/ส่วนกลาง (แผนพัฒนาจังหวัด) ระดับชาติ (National Level) กำหนดนโยบาย/หลักเกณฑ์/มาตรฐาน/แนวทางปฏิบัติ ส่วนกลาง (แผน NEHAP) ระดับสากล (Global Level) ความร่วมมือระดับภูมิภาค/สากล ข้อตกลง/ปฏิญญา/พันธะสัญญา

ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม สุขภาพ บริการคุณภาพ ๕.ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ร่วมมือตาม. พันธะสัญญา ๑. ระดับครอบครัว จัดบริการ ๒.ระดับสถานที่/สปก. องค์กรระดับชาติด้านนโยบาย Env.H. เลือกตั้ง ร้องเรียน กำหนดนโยบาย เสริมอำนาจ สื่อสารความเสี่ยง จัดบริการ ควบคุม/กำกับ - surveillance - R & D - M & E - Strategic M. พัฒนา พรบ.สธ . สนับสนุน ๒.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔.องค์กรการบริหารงาน Env.H บริหาร สนับสนุน ส่งผ่านนโยบาย สนับสนุน ประสานนโยบาย ประสาน บูรณาการ ๓.ภูมิภาค ภาคี

สถานการณ์ต่างๆ ที่มีผลต่องานอนามัยสิ่งแวดล้อม

ด้านการเมืองการปกครอง นโยบายรัฐ/กฎหมาย สถานการณ์ กฎ กติกา โลก เชิงพื้นที่ - ชุมชนเมือง - พื้นที่บริเวณโดยรอบอุตฯ+พลังงาน+ คมนาคมขนส่ง - ชุมชนชายแดน ด้านการเมืองการปกครอง นโยบายรัฐ/กฎหมาย - รธน. ม.๖๗ ว.๒, ม.๕๗ - พรบ.สุขภาพ/พรบ.สาธารณสุข/ พรบ.ส่งเสริมคุณภาพสวล - พรบ.กระจายอำนาจฯ ประชาคมอาเซียน สังคมผู้สูงอายุ เชิงประเด็น - คุณภาพน้ำ/อาหาร - สิ่งปฏิกูล/น้ำเสีย/มูลฝอย - อุบัติภัย /ภัยพิบัติ -สารเคมีอันตราย/ขยะพิษ ด้านสังคม ผู้สูงอายุ ความเป็นเมือง เทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้านสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรที่มาก เกิดความเสื่อมโทรม ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงอาหาร &พลังงาน เชิงมาตรการ/เครื่องมือจัดการ HIA/EIA/EHIA การเฝ้าระวัง Env.H. Surveillance -Accreditation ความก้าวหน้าเทคโนโลยี ด้านเศรษฐกิจ AEC

ปัญหาและความคาดหวัง ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การลดผลกระทบจากปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจาก ภาคสาธารณสุข การลดความเสี่ยงจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพจากการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การดำเนินการตามพันธะสัญญาระหว่างประเทศ การจัดการปัญหาผลกระทบจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี (ขยะอันตราย สารเคมี) การลดความเสี่ยงจากบริการและการจัดบริการ คุณภาพบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน ความสามารถพึ่งพาตนเองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง (ลดการใช้สารเคมี)

กรอบแนวคิดในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจของโลก ลดความเสี่ยง - ประเด็น - พื้นที่ การเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจของประเทศ ลดผลกระทบต่อสุขภาพ การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การพัฒนาสุขาภิบาลที่ยั่งยืน สู่วิถีพอเพียง การลดความเสี่ยงจากการจัดบริการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ : การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรอบแนวคิด การจัดการก่อนมีปัญหา การจัดการเมื่อมีปัญหา ระหว่างดำเนินการ การใช้ HIA ในกิจการ/กิจกรรมที่อาจก่อผลกระทบ ระบบการเฝ้าระวังและการเตือนภัย ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน การจัดการเหตุรำคาญ ระบบกฏหมาย การพัฒนาองค์ความรู้ ระบบสารสนเทศ การสื่อสารความเสี่ยง

HIA กับ การคุ้มครองสิทธิสุขภาพ สื่อสารความเสี่ยง พัฒนาเป็นนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ HIA กิจการฯ โครงการ กิจกรรม ได้ องค์ความรู้ สร้างมาตรฐาน พัฒนาเป็นกฎระเบียบ ก่อนเริ่มดำเนินงาน

ประเด็นงาน 1. การจัดการก่อนมีปัญหาโดยใช้กระบวนการ HIA 1.1 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ใน พรบ.สธ. 1.2 กิจการ กิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบสุขภาพ 1.3 การพัฒนาระบบและกลไก HIA ใน พรบ.สธ. 1.4 สนับสนุน การพัฒนา HIAต้นแบบในระดับท้องถิ่น 2. การจัดการระหว่างดำเนินการโดยใช้ ระบบการเฝ้าระวัง และการเตือนภัย 2.1 พัฒนาระบบและกลไกการเฝ้าระวัง 2.2 ศึกษาสถานการณ์เพื่อการเฝ้าระวังในพื้นที่เฉพาะ 2.3 การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 12 พื้นที่ 3.การจัดการเมื่อเกิดปัญหา พัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน (อุบัติภัย สาธารณภัย สารเคมี)

ประเด็นงาน/ตัวชี้วัด 1. การจัดการก่อนมีปัญหาโดยใช้กระบวนการ HIA ตัวชี้วัด 1.1 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ใน พรบ.การสาธารณสุข 4 เรื่อง -การหลอม การหล่อ การถลุงแร่หรือโลหะทุกชนิด -การล้าง การอบ การรม การสะสมยางดิบ -การผลิตกระดาษต่างๆ -การผลิตพลาสติกเซลลูลอยด์ เบเกอร์ไลท์หรือวัตถุที่คล้ายคลึง 1.2 กิจการ กิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบสุขภาพ (ไม่ได้อยู่ใน พรบ.การสาธารณสุข) - โรงไฟฟ้าชีวมวล 1.3 การพัฒนาระบบและกลไก HIA ในพรบ.การสาธารณสุข

ประเด็นงาน/ตัวชี้วัด 1. การจัดการก่อนมีปัญหาโดยใช้กระบวนการ HIA ตัวชี้วัด 1.4 สนับสนุน การพัฒนา HIAต้นแบบในระดับท้องถิ่น จำนวน 12 แห่ง ( ตลาดนัด แหล่งท่องเที่ยว หรือตามสภาพปัญหาและความต้องการของพื้นที่)

ประเด็นงาน/ตัวชี้วัด 2. การจัดการระหว่างดำเนินการโดยใช้ ระบบการเฝ้าระวังและการเตือนภัย ตัวชี้วัด 2.1 พัฒนาระบบและกลไกการเฝ้าระวัง - การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค - การเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารและน้ำในสถานที่จำหน่ายอาหาร - การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควัน

ประเด็นงาน/ตัวชี้วัด 2. การจัดการระหว่างดำเนินการโดยใช้ ระบบการเฝ้าระวังและการเตือนภัย ตัวชี้วัด(ต่อ) 2.2 ศึกษาสถานการณ์เพื่อการเฝ้าระวังในพื้นที่เฉพาะ -การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคบริเวณบ่อกำจัดกากอุตสาหกรรม จ.สระบุรี , บริเวณเหมืองแร่ทองคำ จ.เลย และ จ. พิจิตร - การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นที่ชายแดน - การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมศูนย์เด็กเล็ก 2.3 การเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 12 พื้นที่

ประเด็นงาน/ตัวชี้วัด 3.การจัดการเมื่อเกิดปัญหา ตัวชี้วัด พัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน (อุบัติภัย สาธารณภัย สารเคมี) โดย - พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ - พัฒนาศักยภาพทีมงาน ( SERT Special Environmental Response Team ) - การสื่อสารความเสี่ยง

ประเด็นยุทธศาสตร์ : การลดความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมจากการจัดบริการ เป้าประสงค์ : 1. ลดความเสี่ยงทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ จากการจัดบริการของสถานประกอบการ สถานบริการและสถานที่สาธารณะ 2. ประชาชนมีพฤติกรรมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ ประเด็นงาน : 1.การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. 2 .การรับรองมาตรฐานสถานประกอบการ 3. การพัฒนาพฤติกรรมอนามัยที่ถูกต้อง 4. การพัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน

การลดความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมจากบริการ มีพฤติกรรมที่ถูกต้อง พัฒนามาตรฐาน สถานประกอบการ / ผู้ประกอบการ ปฎิบัติตามกฎระเบียบ ผู้รับบริการ มีพฤติกรรมที่ถูกต้อง รู้เท่าทันบริการ พัฒนาพฤติกรรม ปฎิบัติ ตาม หน้า ที่ พัฒนาคุณภาพ อปท ปฏิบัติตามมาตรฐาน

ประเด็นงาน/ตัวชี้วัด 1. การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. เป้าหมาย : อปท.มีการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : อปท.ผ่านการรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวน 4 แห่ง 2. การรับรองมาตรฐานสถานประกอบการ - สถานประกอบการด้านอาหาร (ร้านอาหาร แผงลอย ตลาดสด ตลาดนัด) - ประปาดื่มได้ - ส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน HAS ร้อยละ 70 - ส้วมห้อยขา * ในครัวเรือน ปี 56 ร้อยละ 50 ปี 58 ร้อยละ 100 * สถานที่สาธารณะ ปี 56 ร้อยละ 60 ปี 58 ร้อยละ 90

ประเด็นงาน/ตัวชี้วัด 3. การพัฒนาพฤติกรรมอนามัยที่ถูกต้อง - กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ - พฤติกรรมการใช้ส้วม 4. การพัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน : รถเร่ บริการอาหารเคลื่อนที่ กิจการหมวด 7 (อาหาร) โต๊ะจีน ตลาดน้ำ ซุปเปอร์มาร์เก็ต

ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสุขาภิบาลยั่งยืนสู่วิถีพอเพียง ใน 4 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2556 – 2559) เป้าประสงค์ : ครัวเรือน ชุมชนและท้องถิ่นสามารถจัดการสุขาภิบาล แบบประหยัดพลังงานและน้ำ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่ ถูกสุขลักษณะและเหมาะสม รักษาสิ่งแวดล้อม เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพึ่งตนเองได้ ประเด็นงาน : 1. การลดโลกร้อนด้วยการสุขาภิบาลยั่งยืน 2. การสุขาภิบาลครัวเรือน 3. การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยของ อปท. 4. การจัดการน้ำเสียโรงพยาบาล

ประเด็นงาน การลดโลกร้อนด้วยการสุขาภิบาลยั่งยืน 1.โครงการสาธารณสุขลดโลกร้อนด้วยการสุขาภิบาลยั่งยืน เป้าหมาย : สถานบริการสาธารณสุข สังกัด สธ. ดำเนินกิจกรรม GREEN และประเมินคาร์บอนฟุตพริ้น ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย: ปี 56 รพ.สังกัด สธ. ดำเนินกิจกรรม GREEN จำนวน 204 แห่ง/ปี กิจกรรมหลัก: - เพิ่มความครอบคลุม รพ.การร่วมดำเนินงาน - สนับสนุนวิชาการ GREEN&CF เพิ่มความรู้เรื่องการจัดการน้ำเสีย & Auto clave & Manifest system - ศึกษา/ถอดบทเรียนความสำเร็จ - เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สร้างเครือข่ายรพ.ลดโลกร้อนระดับประเทศ - Global Green and Healthy Hospital Network (GGHHN)

ประเด็นงาน การสุขาภิบาลในครัวเรือน 2. โครงการ GREEN and Healthy Home เป้าหมาย : ครัวเรือนจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอยและน้ำเสียตามหลักการสุขาภิบาลยั่งยืนมีพฤติกรรมสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง (การเลือกปรุง ประกอบและการเก็บ) ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย: ปี 57 ชุมชนต้นแบบสุขาภิบาลยั่งยืนฯ จำนวน 12 ชุมชน(หมู่บ้าน/ตำบล) กิจกรรมหลัก: - จัดทำเกณฑ์/มาตรฐานการสุขาภิบาลครัวเรือน (GREEN & Hygienic Behavior) - สร้างความรู้และศักยภาพบุคลากรระดับศูนย์ฯ/จังหวัด/สสอ./รพ.สต./อปท. และ อสม. - สนับสนุน รพ.สต.เป็นผู้จัดการโครงการฯ ร่วมกับ อปท.และผลักดันให้บรรจุอยู่ในแผนสุขภาพชุมชน - พัฒนาต้นแบบการออกข้อกำหนดท้องถิ่นฯ - เฝ้าระวังความเสี่ยงจากสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำดื่มโดย อสม. / การพัฒนาชุดทดสอบเบื้องต้น - ปชส./สร้างกระแส/แรงจูงใจ

ประเด็นงาน การจัดการสิ่งปฏิกูล,มูลฝอยและน้ำเสียของ อปท. 3. โครงการสุขาภิบาลยั่งยืนสู่วิถีพอเพียง เป้าหมาย : อปท. จัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอยได้ถูกสุขลักษณะและมีการนำไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย: ปี 57 : อปท.ต้นแบบการจัดการสิ่งปฏิกูล จำนวน 12 แห่ง : อปท.ต้นแบบการจัดการมูลฝอยถูกสุขลักษณะ จำนวน 12 แห่ง ปี 58-59 : ขยายผลสู่เทศบาลที่มีการจัดการมูลฝอย/สิ่งปฏิกูลถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 10 , 20 ตามลำดับ กิจกรรมหลัก: -จัดทำคู่มือวิชาการ/มาตรฐานด้านสุขาภิบาลยั่งยืน (ปี 56) - อบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานท้องถิ่น เกี่ยวกับการบำบัดสิ่งปฏิกูล มูลฝอยและการนำไปใช้ประโยชน์ ตลอดจนการออกข้อกำหนดฯ (ปี 56) - ศึกษาและพัฒนาต้นแบบ(การจัดการปฏิกูล,มูลฝอยและน้ำเสีย) - เฝ้าระวังความเสี่ยงจากการจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอย โดย Manifest system(ปี 56-57) - ออกกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะการจัดการมูลฝอย (ภายในปี 58) - สร้างการยอมรับของสังคม - ขับเคลื่อนภาคีและเครือข่าย

ประเด็นงาน การจัดการน้ำเสียโรงพยาบาล 4. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพจัดการน้ำเสียโรงพยาบาล เป้าหมาย : รพ.(สังกัด สธ.) จัดการน้ำเสียได้ตามมาตรฐาน และนำไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย: ปี 57 ร้อยละ 50 ของ รพ. (สธ.) มีการจัดการน้ำเสียได้ตามมาตรฐานและนำน้ำทิ้งไปใช้ประโยชน์ กิจกรรมหลัก: - จัดทำและเชื่อมโยงฐานข้อมูลระบบบำบัดน้ำเสีย รพ.สธ. - ฝึกอบรมบุคลากร (วิชาการและการปฏิบัติตามกฎหมาย) - สนับสนุนการดำเนินงานด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการฯ (น้ำเสีย รพ.) - ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย

ทิศทางในอนาคต และการขับเคลื่อนงาน

การขับเคลื่อนงานอนามัยสิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2554-2559 การขับเคลื่อนงานอนามัยสิ่งแวดล้อม 20 กระทรวง รพ.สต. ผู้รับ บริการ จังหวัด สสอ. ชมรมสา'สุข แห่งประเทศไทย อำเภอ. อปท. คุณภาพ สายงานอนามัยสิ่งแวดล้อม กรม คพ. กรม สถ. ประชาสังคม

รูปธรรมของงานที่ขับเคลื่อนไปแล้ว แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (๒๕๕๔-๒๕๕๙) ศูนย์ฝึกอบรมอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความร่วมมือกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ความร่วมมือกับกรมควบคุมมลพิษ เครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการอนามัยสิ่งแวดล้อมกับสถาบันการศึกษา 22 แห่ง ความร่วมมือการพัฒนาบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา กับศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ แผนการจัดตั้งห้องปฏิบัติการและหน่วยวิเคราะห์เคลื่อนที่ ของศูนย์

นโยบายและทิศทางของรองอธิบดี กรมอนามัย (นายแพทย์ณรงค์ สายวงศ์) งานตามประเด็นยุทธศาสตร์ด้าน Env.H. ๓ ประเด็น ๖ โครงการสำคัญ บูรณาการกับการส่งเสริมสุขภาพ ตามกลุ่มวัยและ Setting ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ) ๑.คุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพ ประชาชน ๒.ลดความเสี่ยงด้าน Env.H.จากการ จัดบริการ ๓. พัฒนาสุขาภิบาลยั่งยืน ผสานเข้ากับแนวทางการดำเนินงาน P&P โดยศูนย์เพื่อถ่ายทอดไปสู่พื้นที่ ระบบ M&E ที่ทันสมัย เชื่อถือได้ มีความเชื่อมโยง ตอบสนองการทำงาน/แก้ไขปัญหาได้ ให้สามารถเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

ขอขอบพระคุณ ผู้บริหารกรมอนามัย ผู้บริหารและบุคลากรศูนย์อนามัย ภาคีเครือข่าย ดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม