แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
Power Point ประกอบการบรรยาย แก่ “ประธานกรรมการและเลขานุการ กรรมการสถานศึกษา ตามโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของกรรมการสถานศึกษา” วันที่ 19 ธันวาคม.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
ตำบลจัดการสุขภาพ.
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
แนวทางการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2561
การนำเสนอแบบโปสเตอร์
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ภาวะการณ์ผลิต/การตลาด
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
แผนงานโครงการที่จะนำไปใช้เพื่อ การแก้ปัญหาสุขภาพหรือบริการ
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558 กลุ่มแผนงานและประเมินผล 6 กุมภาพันธ์ 2558

เอกสารที่ได้มอบให้ผู้ตรวจราชการกรมฯ+ผู้นิเทศ แผนการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขปี 2558 แผนการตรวจราชการเขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558 แบบฟอร์มสรุปรายงานการตรวจราชการ (ตก.1และ 2)

ระเบียบวาระการประชุม ระเบียบวาระที่ 1 -เรื่องประธานแจ้งให้ทราบ  ระเบียบวาระที่ 2 –แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ คณะที่ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย คณะที่ 2 การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย การคุ้มครองผู้บริโภค 2 ภารกิจ 5ด้าน 10 หัวข้อ 13 ประเด็น แผนการตรวจราชการ ปี 2558 2.การตรวจราชการ แบบบูรณาการ 1.ภารกิจติดตามนโยบายและยุทธศาสตร์ฯ 5 ด้าน ด้านที่1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ด้านที่2 การพัฒนาระบบบริการ ด้านที่3 การบริหารจัดการ ด้านที่4 การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านที่ 5 การตรวจบูรณาการ 1 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย 2 ระบบควบคุมป้องกันโรค 3 ระบบบริการปฐมภูมิ 4 ระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ 5 การบริหารการเงินการคลัง 6 การบริหารยาและเวชภัณฑ์ 7.ธรรมาภิบาล 8 ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 9 ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านสิ่งแวดล้อม 10 การตรวจราชการแบบบูรราการฯ 1หัวข้อ 3 โครงการ 2หัวข้อ 2ประเด็น 2หัวข้อ 2ประเด็น 3หัวข้อ 4ประเด็น 2หัวข้อ 2ประเด็น

รูปแบบแนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน ปี 2558 เขตสุขภาพที่ 9 รูปแบบแนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน ปี 2558 เขตสุขภาพที่ 9 รูปแบบที่ 1 การตรวจราชการโดยสัมพันธ์กับการประเมินตามเป้าหมายตัวชี้วัดกระทรวง (KPI) รูปแบบที่ 2 การตรวจติดตามนโยบายสำคัญและแก้ไขปัญหาพื้นที่ รูปแบบที่ 3 เป็นการตรวจสอบ (Audit) เฉพาะกิจ เฉพาะเรื่อง

การตรวจราชการ ปี 2558 ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย การบริหารงาน PP 5 กลุ่มวัย ระบบควบคุมโรคได้มาตรฐาน การตรวจราชการ ปี 2558 6

ดร.บัณฑิต คุณสุรางคนา คุณทิพรัตน์ 1. การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัย ประเด็นการตรวจติดตามระดับจังหวัด ดร.บัณฑิต คุณสุรางคนา คุณทิพรัตน์ 1.1 การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดลำดับปัญหา 1.2 การจัดทำแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณจังหวัด/อำเภอ 1.3 การประชุมชี้แจงแผนงาน PP ระดับจังหวัดให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติ ทุกระดับรับทราบ เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการ 1.4 การตรวจสอบแผนปฏิบัติการระดับอำเภอให้สอดคล้องกับแผน ระดับจังหวัด 1.5 ระบบข้อมูลเพื่อการกำกับติดตามในระดับจังหวัด 1.6 การตรวจ ติดตาม และประเมินผลทุกระดับ และสรุปผลการดำเนินงาน 1.7 การเชื่อมโยงงานกับ DHS และ FCT

คุณนันทนา/คุณประดิษฐ์

อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก 0-15 ปี ประเด็นการตรวจติดตาม การพัฒนาศักยภาพบุคลากร เครือข่าย ให้เกิดกลไกการป้องกันเด็กจมน้ำ การดำเนินการให้เกิดการเฝ้าระวังในชุมชน มาตรการชุมชน และการจัดการสิ่งแวดล้อม การประชาสัมพันธ์ การเชื่อมโยงงานกับ DHS และ FCT คุณเปรมปรีดิ์

สถานการณ์วัยรุ่นนครชัยบุรินทร์ ตั้งครรภ์ 52.7/30.3 ต่อพัน (2556/2557) ตั้งครรภ์ซ้ำ ร้อยละ16.7 (2557) STD 10.4/17.9ต่อแสน (2552 /2556) ไม่ตั้งใจท้อง ร้อยละ 66.8 ไม่คุมกำเนิด ร้อยละ 72.4 การบริโภคแอลกอฮอล์ วัยรุ่น ร้อยละ 15.1 (2554)

คุณทิติยาณี/คุณปนัดดา วัยรุ่น คุณทิติยาณี/คุณปนัดดา Gap การตั้งครรภ์ซ้ำยังสูงเกิณเกณฑ์ และSTD สูงขึ้นทุกปี จากพฤติกรรมเสี่ยง โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานYFHSและอำเภออนามัยเจริญพันธุ์ การสนับสนุน งบประมาณ ขาดความเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง DHS กับ อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ประเด็นการตรวจติดตาม Node วัยรุ่น ระดับเขตและจังหวัดในการนำมาตรการลงสู่ โรงเรียน เพื่อจัดการพฤติกรรมเสี่ยง มีระบบการสอนเพศศึกษา พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในการป้องกัน แก้ไขปัญหา มีระบบเฝ้าระวัง ข้อมูลและโรค /ปัจจัยเสี่ยง พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐานYFHS และอำเภออนามัยเจริญพันธุ์

คุณเปรมปรีดิ์/คุณทิติยาณี/คุณปนัดดา/คุณศสิญา ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % ลดการขาดกิจกรรม ทางกาย 10 % ลดการบริโภคยาสูบ 30 % ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25 % ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80% ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% สร้างเสริมสุขภาพ และวิถีชีวิตในประชากร ป้องกันการเกิดโรค ในกลุ่มเสี่ยงสูง ป้องกันและชะลอการดำเนินโรค สู่ภาวะแทรกซ้อนและการเป็นซ้ำ ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยงในประชากร ตำบลจัดการสุขภาพ สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัยฯ การบังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่) พัฒนาการจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล คลินิก NCD คุณภาพ การประเมินและจัดการโอกาสเสี่ยงต่อ CVD DHS + system manager ระดับจังหวัด/อำเภอ

ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อายุ 15-19 ปี คุณเปรมปรีดิ์/คุณศสิญา ประเด็นการตรวจติดตาม การพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายต่างๆ การดำเนินงานให้พื้นที่รอบสถานศึกษาเป็นพื้นที่ปลอดเหล้า การบังคับใช้กฎหมาย การตรวจเตือน ตรวจจับ ประชาสัมพันธ์ การดำเนินการให้เกิดมาตรการชุมชนในการป้องกันการดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น การเชื่อมโยงงานกับ DHS และ FCT

อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง คุณเปรมปรีดิ์/คุณศสิญา ประเด็นการตรวจติดตาม การพัฒนาระบบรายงานและข้อมูล การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง การดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ และ DPAC คุณภาพ การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ การเชื่อมโยงงานกับ DHS และ FCT

อัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 18/แสน คุณเปรมปรีดิ์/คุณศสิญา ประเด็นการตรวจติดตาม การพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลอุบัติเหตุ การสื่อสารความเสี่ยงเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เช่น เมา การดำเนินการให้เกิดมาตรการชุมชน เช่น ด่านชุมชน การบังคับใช้กฎหมาย การสอบสวนกรณีเกิดอุบัติเหตุหมู่หรือกรณีน่าสนใจ การเชื่อมโยงงานกับ DHS และ FCT

การพัฒนาระบบควบคุมโรค ศักยภาพทีม SRRT SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีระบบข้อมูล Real time พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 กลุ่มโรค 5 มิติ) Situation Awareness พยากรณ์โรค IHR 2005 ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย ช่องทางเข้าออก ระบบเฝ้าระวังช่องทาง เข้าออกประเทศ ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะ สุขภาวะชายแดน พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ ประชากรต่างด้าว พัฒนาระบบมูลประชากรต่างด้าว จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน

คุณอภิรัตน์/คุณนันทนา/ คุณประดิษฐ์ 2. ระบบการควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่ได้มาตรฐาน ประเด็นการตรวจติดตามระดับจังหวัด คุณอภิรัตน์/คุณนันทนา/ คุณประดิษฐ์ 2.1 แผนงาน/โครงการ ในการดำเนินการป้องกันควบคุม โรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ (DHF, หัด, มาลาเรีย) 2.2 การประเมินการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อสำคัญ และนำผลการประเมินฯ มาปรับปรุงการดำเนินการ 2.3 การสื่อสารแผนงานให้แก่หน่วยงาน/บุคลากรเครือข่าย รับทราบเพื่อ นำไปสู่การปฏิบัติ เฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรค 2.4 รายงานสถานการณ์โรคติดต่อสำคัญของพื้นที่

คุณอภิรัตน์/คุณทิติยาณี/ คุณนันทนา/ คุณประดิษฐ์ 2. ระบบการควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่ได้มาตรฐาน (ต่อ) ประเด็นการตรวจติดตามระดับจังหวัด 2.5 ความพร้อมในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข 2.6 การควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่ชายแดนและช่องทาง เข้าออกระหว่างประเทศ 2.7 การควบคุมป้องกันโรคในชุมชนต่างด้าว 2.8 กระบวนการแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกในโรงเรียน 2.9 การป้องกันและควบคุมโรคหัด 2.10 การเชื่อมโยงงานกับ DHS และ FCT คุณอภิรัตน์/คุณทิติยาณี/ คุณนันทนา/ คุณประดิษฐ์

วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1 เดือนกุมภาพันธ์ ถึง มีนาคม2558 วัตถุประสงค์เพื่อ 1.ประเมินสภาพปัญหา แผนงานการแก้ไขปัญหา โครงสร้างกระบวนการ/ระบบการทำงาน การกำกับติดตามงานด้านต่างๆ ตามนโยบายฯรวมทั้งการบริหารจัดการและระบบข้อมูลในภาพรวมจังหวัด 2.การวิเคราะห์ประเด็นที่เป็นความเสี่ยงและปัญหาอุปสรรคที่ทำให้การขับเคลื่อนนโยบายหรือการแก้ไขปัญหาไม่ประสบความสำเร็จ เพื่อทีมตรวจราชการจะได้ให้การสนับสนุนและให้ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับการตรวจ นำไปปรับปรุงแก้ไขได้อย่างเป็นรูปธรรม และข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อผู้บริหารในส่วนกลาง โดยรอบที่1 ไม่เน้นดูผลงานตามตัวชี้วัด แต่จะดูวิธีการแปลงเป็นการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมได้อย่างไร

วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 กำหนดอยู่ระหว่างช่วงเดือน กรกฎาคม 2558 เพื่อติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจราชการ การแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ และติดตามการแก้ไขปัญหาตามข้อเสนอแนะจากการตรวจราชการรอบที่ 1 ให้ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับการตรวจที่สามารถนำไปปรับปรุงแก้ไขในพื้นที่ได้อย่างเป็นรูปธรรม และให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อผู้บริหารในส่วนกลาง

หมายเหตุ - กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม กำหนดการการตรวจฯ จังหวัด กำหนดการตรวจราชการ กรณีปกติ รอบที่ 1 กำหนดการตรวจราชการ กรณีปกติ รอบที่ 2 ชัยภูมิ 18-20 กุมภาพันธ์ 2558 22-24 กรกฎาคม 2558 นครราชสีมา 25-27 กุมภาพันธ์ 2558 1-3 กรกฎาคม 2558 สุรินทร์ 11-13 มีนาคม 2558 8-10 กรกฎาคม 2558 บุรีรัมย์ 18-20 มีนาคม 2558 15-17 กรกฎาคม 2558 สรุปผลการตรวจ ราชการ 2-3 เมษายน 2558 หมายเหตุ - กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม - มีการร่วมตรวจราชการแบบบูรณาการในวันแรก

เช้า - ตรวจราชการแบบบูรณาการ ณ ศาลากลางจว. กำหนดการตรวจราชการฯ วันที่ 1 ของกำหนดการ บ่าย -จังหวัดนำเสนอแผนงาน/โครงการ ภาพรวมจังหวัดเป็นรายคณะ 4 คณะ ณ สสจ. - คณะฯตรวจราชการและนิเทศงานเป็นรายคณะ 4 คณะ (แยกรายคณะ)(ต่อ) เช้า - ตรวจราชการแบบบูรณาการ ณ ศาลากลางจว. - คณะตรวจราชการและนิเทศงานเก็บข้อมูลแยกรายคณะ 4 คณะ ณ สสจ.

เช้า - ตรวจราชการโรงพยาบาลศูนย์และคปสอ.เมือง กำหนดการการตรวจราชการฯ วันที่ 2 ของกำหนดการ เช้า - ตรวจราชการโรงพยาบาลศูนย์และคปสอ.เมือง - แบ่งทีมตรวจราชการและนิเทศงานออกเป็น 2 ทีม ทีมที่ 1 ทีมผู้ตรวจราชการ ตรวจเยี่ยม ศสม. 1 แห่ง ทีมที่ 2 ทีมสาธารณสุขนิเทศก์ ตรวจเยี่ยม รพ.สต. 1 แห่ง บ่าย -ตรวจราชการและนิเทศงานโรงพยาบาลชุมชนและ คปสอ. ในเครือข่าย - ทีมที่ 1 ทีมผู้ตรวจราชการ ตรวจเยี่ยม รพ.สต. 1 แห่ง - ทีมที่ 2 ทีมสาธารณสุขนิเทศก์ ตรวจเยี่ยม รพ.สต. 1 แห่ง

เช้า -ประชุมทีมคณะตรวจฯและผู้นิเทศงาน กำหนดการการตรวจราชการฯ วันที่ 3 ของกำหนดการ เช้า -ประชุมทีมคณะตรวจฯและผู้นิเทศงาน -สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน

กำหนดการตรวจราชการฯ การลงพื้นที่ - ใน คปสอ. ระดับอำเภอ และ รพ.สต. ทีมตรวจราชการฯส่วนผู้ตรวจราชการกรม/ผู้นิเทศงาน หากเก็บข้อมูลเรียบร้อยแล้วให้ร่วมคณะตรวจเยี่ยมด้วย การเลือกพื้นที่ ให้จังหวัดเลือกโดยหมุนเวียนกันและเลือกพื้นที่ที่ค่อนข้างมีปัญหาหรือเลือกพื้นที่อื่นๆที่ จังหวัด เห็นว่าเหมาะสม

ทีมตรวจราชการ (รวม) ประกอบด้วย - ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 9 - สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 9 - ผู้ตรวจราชการกรม - ผู้นิเทศงานจากกรม/กอง/จังหวัด - หัวหน้ากลุ่มตรวจราชการเขตสุขภาพที่ 9 และผู้ช่วย - เลขาผู้ตรวจราชการฯ , เลขาสาธารณสุขนิเทศก์

ทีมตรวจราชการ (สคร.5) จังหวัดละ 13 คน ประกอบด้วย - ผู้ตรวจราชการกรม คร. (ผู้ทรงฯ ผอ. รอง ผอ.) - P&P (ดร.บัณฑิต คุณสุรางคนา คุณทิพยรัตน์) - วัยทำงาน+NCD (คุณเปรมปรีดิ์ คุณศสิญา) - วัยรุ่น+DHS (คุณทิติยาณี คุณปนัดดา) - ระบบควบคุมโรค (คุณอภิรัตน์ คุณนันทนา คุณประดิษฐ์) - เลขาทีมฯ (คุณสุรางคนา คุณทิพยรัตน์)

การสรุปผลการตรวจราชการ วันที่ 2 ของการตรวจราชการ ให้ผู้นิเทศงาน - สรุปการตรวจราชการ โดยสรุปเป็นคณะ ตามแบบฟอร์ม ตก.1 ตามประเด็นการตรวจราชการ - จัดทำเอกสาร พร้อมจัดทำ ประเด็นสำคัญด้วย POWER POINT ส่งให้เลขานุการคณะตรวจราชการ ฯ (หัวหน้ากลุ่มตรวจราชการเขตสุขภาพที่ 9 ) ทาง email - นำเสนอผลการตรวจฯและให้ข้อชี้แนะแก่จังหวัดในการสรุปผลการตรวจฯในวันที่ 3

การรายงานผลการตรวจราชการฯกรณีปกติ หลังจากการตรวจราชการครบ 4 จังหวัด -ภายใน 1 สัปดาห์หลังจากเสร็จสิ้นการตรวจราชการและนิเทศงานแต่ละรอบให้ส่งรายงานสรุป (ตก.1) ให้หัวหน้ากลุ่มแผนงานฯ ทาง e-mail เพื่อส่งให้ประธานคณะกรรมการคณะที่ 1 และ 2 - ทีมเลขาฯกลุ่มแผนงานฯ รายงานสรุป (ตก.2) -ประชุมสรุปผลตรวจราชการในภาพเขต สรุปผลการวิเคราะห์ และข้อเสนอแนะ -แจ้งผลการตรวจ กลับไปยัง กรม กอง และจังหวัด เพื่อดำเนินการปรับปรุง แก้ไขตามข้อเสนอแนะต่อไป