กรมกิจการเด็กและเยาวชน การสรุปประสบการณ์ การตรวจประเมินมาตรฐาน การจัดสวัสดิการบ้านพักเด็กและครอบครัว กรมกิจการเด็กและเยาวชน
การตรวจประเมินมาตรฐาน การจัดสวัสดิการบ้านพักเด็กและครอบครัว ประสบการณ์ การตรวจประเมินมาตรฐาน การจัดสวัสดิการบ้านพักเด็กและครอบครัว เนื้อหาที่เป็น จุดแข็ง-จุดอ่อนของ บพด. เมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐาน บพด. ขั้นตอนการเตรียมการของบพด. ข้อเสนอแนะต่างๆ จากการตรวจประเมิน เอกสาร บุคลากร
1. วิสัยทัศน์ พันธกิจ 2. แผนงาน โครงการ ส่วนใหญ่ดำเนินการได้ปานกลาง เพราะพันธกิจจาก กรมกิจการเด็กและเยาวชน ต้องแปลงเป็นของจังหวัด และการเชื่อมโยงบทบาทของเจ้าหน้าที่กับพันธกิจ 2. แผนงาน โครงการ ส่วนใหญ่เป็นแผนปฏิบัติการ (Action Plan) และไม่ได้กำหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจน ตัวชี้วัด ควรระบุเป็นร้อยละจำนวนนับได้ “มี” “เกิด”แผนดำเนินการ ควรนำไปสู่การเผยแพร่อย่างน้อย 3 ช่องทาง เช่น ใน face book แผ่นพับ บอร์ด การประชุม one home เป็นต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องระบุงบประมาณ
3. โครงสร้าง บทบาท หน้าที่ สามารถดำเนินการได้ดีมาก 4.การประเมินสมรรถนะของเจ้าหน้าที่ สามารถดำเนินการได้ดี แต่การสัมภาษณ์หัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัว ต้องลำดับเรื่องการประเมิน คุณธรรม จริยธรรม + ผลงาน และควรแสดงเครื่องมือการประเมิน (ถ้ามี) เช่น บันทึกประจำวันของหัวหน้า การสังเกตการณ์จากการมอบหมายงาน
5. การพัฒนาบุคลากร รายงานการอบรมของเจ้าหน้าที่ ส่วนใหญ่มีรายงานผลการอบรมของเจ้าหน้าที่ แต่ควรทำสรุปตลอดทั้งปี ว่าใครอบรมเรื่องอะไร เมื่อไร ผลเป็นอย่างไร หากยกตัวอย่างของการประยุกต์ใช้ จะเป็นประโยชน์มาก เช่นสามารถลดขั้นตอนการทำงานและมีประสิทธิภาพเท่ากับของเดิม การถ่ายทอดความรู้จากการอบรมของเจ้าหน้าที่ควรมาจากรายงานของเจ้าหน้าที่ ที่เสนอหัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัว หรือให้เจ้าหน้าที่รายงานในที่ประชุมประจำเดือน ซึ่งบางบ้านจดบันทึกการประชุมได้สมบูรณ์ บางบ้านอาจจะไม่ค่อยสมบูรณ์
6. การจัดเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 1) คำสั่งแต่งตั้ง ส่วนใหญ่ดำเนินการได้ดีมาก 2) การเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ก่อนออกไปช่วยเหลือ เช่น ถุง กระเป๋า กล่อง ที่มีแบบประเมินต่างๆ ยาสามัญที่จำเป็น ไฟฉาย หน้ากากอนามัย ถุงมือยาง ไฟฉาย เป็นต้น 3) การสัมภาษณ์ การรับโทรศัพท์ การช่วยเหลือนอกสถานที่ และการดูแลในบ้าน ส่วนใหญ่ดำเนินการได้ปานกลาง หลักเกณฑ์ จำแนก case วิกฤต หรือรอได้ การบันทึกรายงานเวรที่ควรระบุถึงตัวเด็กและเหตุการณ์ กิจกรรมที่เจ้าหน้าที่ดำเนินการ
7. งบประมาณ ส่วนใหญ่ ดำเนินการ ดีมาก 8. พัสดุ มีหลักฐานครบ เช่น สมุดคุม ตอบคำถามขั้นตอนของพัสดุได้ดี การตรวจสอบ รายการวัสดุอุปกรณ์ คงเหลือต้องตรงตามสมุดคุม ควรจัดทำรายการรับ-จ่ายวัสดุบริจาค (ตามรายการที่หัวหน้าบ้านกำหนด) จัดทำทะเบียนพัสดุให้ครบถ้วน
9. งานยานพาหนะ เอกสารและการสัมภาษณ์ดำเนินการได้ดี แต่ไม่ค่อยสรุปรายงานการประเมินผลความพึงพอใจหรือไม่ได้ประมวลผล มีการสุ่มตรวจ การใช้รถยนต์ และอุปกรณ์ที่จำเป็นติดรถ
10. ข้อมูลประชาสัมพันธ์ ดำเนินการได้น้อย 1) เนื้อหา นำเสนอ ส่วนใหญ่เพื่อประชาสัมพันธ์งาน บพด.ควรปรับปรุง เนื้อหาที่มุ่งสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักรู้ต่อสถานการณ์เด็กและครอบครัว 2) การเยี่ยมชม น้อย และการสะท้อนกลับเพื่อการเปลี่ยนแปลง มีน้อย 3) จุลสาร ควรกำหนดว่าใครเป็นกลุ่มเป้าหมาย เพื่ออะไร
11. การติดตามประเมินผล ส่วนน้อย มีแผนการติดตามและประเมินผล รายงานผลการดำเนินงานโครงการต่างๆ ส่วนใหญ่เป็นรายงานประเมินความพึงพอใจ เนื้อหาการประเมินผลตามตัวชี้วัดมีน้อย
12. รายงานผลการปฏิบัติงาน รายงานผลการดำเนินโครงการส่วนใหญ่ดำเนินการได้ปานกลาง ครบทุกโครงการ รายงานผลการดูแล ผู้ใช้บริการควรทำเป็นสถิติที่ดึงข้อมูลจาก สมุดทะเบียนคุมผู้ใช้บริการ รายงานประจำปีส่วนใหญ่ดำเนินการได้ดีมาก
หมวดบริการ กระบวนการให้บริการ 1) กระบวนงานภาพรวมและกระบวนการแยกตาม พ.ร.บ.ของ บพด. ดำเนินการได้ดีบางแห่ง ขาดการระบุระยะเวลาตามขั้นตอนนั้นๆ 2) เครื่องมือการคัดกรอง ควรมีการใช้ เครื่องมือทางสังคม ได้แก่แบบฟอร์มต่างๆ เครื่องมือประเมินทางจิตวิทยา เช่นแบบประเมินความเครียด แบบประเมินภาวะซึมเศร้า แบบประเมินความเสี่ยงฆ่าตัวตาย แบบประเมิน EQ แบบวัดระดับเชาวน์ปัญญา (IQ) (ควรมีการใช้ข้อมูลจากทั้ง2เครื่องมือ เพื่อการวิเคราะห์ในเวทีการประชุมทีมสหวิชาชีพทั้งในและนอก)
ต้องมีการรวบรวมข้อมูลทางการแพทย์ การศึกษา เพื่อช่วยให้วิเคราะห์ปัญหา มีความรอบด้าน ส่วนใหญ่ดำเนินการได้ปานกลาง การทำงานเป็นทีม ทีมภายใน/ภายนอก ส่วนใหญ่ดำเนินไประดับปานกลาง ทีมสหวิชาชีพ หมายถึง ทีมนักสหวิชาชีพ ภายนอก หมายถึง ทีมสหวิชาชีพของจังหวัดนั้นๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น ของ OSCC ทีมีคำสั่งแต่งตั้ง ซึ่งบพด. มักไม่ได้เป็นเลขานุการทีม แต่เป็นผู้รับเชิญเข้าร่วม ในกรณีนี้ เจ้าของเคสมักเป็นของพมจ.หรือหน่วยงานอื่น
ทีมปฏิบัติการภายใน ที่ประกอบด้วย นักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา เจ้าหน้าที่ฝ่ายส่งเสริมพัฒนา (ซึ่งอาจจะเป็นคนจัดกิจกรรมระหว่างที่เด็กพักอยู่ในบพด.) แม่บ้านหรือพี่เลี้ยง (ตัวอย่างรายงานการประชุมทีมสหวิชาชีพ) ลักษณะการทำงานเป็นทีม มีเป้าหมายทำงานร่วมกันชัดเจน ส่วนใหญ๋มีประชุมทีมและไม่ค่อยมีการบันทึก รายงาน มีการแบ่งงานกันทำ มีการสื่อสาร 2 ทางที่ดี
3) ต้องนำสรุปแนวทางการดูแลช่วยเหลือ ฟื้นฟู หรือประสานส่งต่อ มาจัดทำเป็นเป้าหมายของ IDP/Contract services ตัวอย่าง สรุปของทีมสหวิชาชีพ 1. ให้ดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม 2. ประสานส่งต่อโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 3. ฟื้นฟูจิตใจผู้ใช้บริการ
เอกสารแฟ้มการประชุมทีมสหวิชาชีพ (ในกรณีนี้) ได้แก่ Family Tree Eco-map Contract services ข้อเท็จจริงจากการสัมภาษณ์ สังเกต แบบทดสอบ เช่น แบบประเมินภาวะความเครียด แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า แบบประเมินความเสี่ยงการฆ่าตัวตาย แบบประเมิน 2 Q , 9Q ที่ทำและประเมิน EQ ผลการเรียนจากโรงเรียนเดิม หนังสือขอย้ายเข้าเรียนโรงเรียนใหม่ แบบคำร้องขอรับเงินเยียวยา ของกรมคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
4) การกำหนดเป็นแผน IDP/Contract services ตัวอย่าง ดญ.เอ อายุ 10 ปี การศึกษา ประถมปีที่ 6 สภาพร่างกาย ................................................................... ...................................................................................... สภาพจิตใจ/พฤติกรรม........................................................ ..................................................................................... สภาพแวดล้อมตัวเด็ก......................................................... บ้าน ที่อยู่อาศัย............................................................. ความสัมพันธ์กับสมาชิกในครอบครัว/เครือญาติ .............................................................................................................................................................................
เป้าหมายที่ 1 ดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม กิจกรรม บุคคล/หน่วยงาน ช่วงเวลา ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.การประสานงานกับแพทย์ที่รพ.เพื่อตรวจการล่วงละเมิดทางเพศ พ............. รพ............ 1 กพ. 60 1. รับรู้ความรุนแรงของคดี และ เป็นหลักฐานทางคดี 2.ประสานงานกับสภอ. รตอ........... 2 กพ. 60 2. เป็นหลักฐานทางคดี 3.เตรียมความพร้อมเด็กและครอบครัว ขั้นสอบสวน ขั้นอัยการ นาง.............เป็นพยาน รตอ.......... อัยการ....... 7 กพ. 60 10 กพ.60 15 กพ.60 3. เด็กไว้วางใจ ให้ข้อมูลได้ครบถ้วนสมบูรณ์
เป้าหมายที่ 2 ประสานส่งต่อโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ กิจกรรม บุคคล/หน่วยงาน ช่วงเวลา ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.การสร้างความเข้าใจเรื่องการเรียนต่อของ ดญ.เอ นักสังคมฯ 7 กพ.60 เตรียมความพร้อมไปโรงเรียนใหม่ 2.ติดต่อโรงเรียน....เพื่อขอผลการเรียน ผอ.รร.เดิม 8 กพ.60 ได้เอกสารผลการเรียน 3.ประสานโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ผอ.รร.ราชประชาฯ 10กพ.60 โรงเรียนรับตัวเด็กเข้าเรียน 4.การเตรียมความพร้อม เอกสาร การฝึกทักษะ(วิชาการและทักษะการเรียนรู้) 11-17กพ.60 เด็กมีความพร้อมด้านวิชาการ และมีความรับผิดชอบต่อแบบฝึกหัด
เป้าหมายที่ 3 การฟื้นฟูจิตใจผู้ใช้บริการ กิจกรรม บุคคล/หน่วยงาน ช่วงเวลา ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.การให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล นักสังคมฯ นักจิตฯ 11-17กพ.60 ผู้ใช้บริการผ่อนคลายความวิตกกังวล 2.การจัดกิจกรรมของ บพด.เพื่อสร้างเป้าหมายชีวิต นักจิตวิทยา 15-18กพ.60 ผู้ใช้บริการสร้างเป้าหมายชีวิตได้ 3.การฝึกทักษะทางสังคมและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น 11-20กพ.60 การปรับตัวกับผู้อื่น(ทำงานร่วมแบบรับผิดชอบ) 4.การปรับพฤติกรรมเฉพาะคน ที่อาจเป็นปัญหาระยะยาว 18-25กพ.60 มีพฤติกรรมที่ดีขึ้นตามความเหมาะสม
3. การประสานส่งต่อ สามารถดำเนินการได้ดี 1) มีเอกสารตามที่สถานสงเคราะห์กำหนด ได้แก่ ใบรับรองแพทย์ 5 โรค ผลการตรวจ IQ ,EQ , SDQ ผลการประเมินพัฒนาการ 2) เอกสารที่เกี่ยวข้องกับผลการศึกษาล่าสุด 3) มีกิจกรรมเตรียมความพร้อม ผู้ใช้บริการและหน่วยงานอื่น 4. การช่วยเหลือทางกฎหมาย ส่วนใหญ่ดำเนินการได้ดี 1) ไม่มีสำเนาใบคำร้องขอรับเงินเยียวยา ของ กระทรวงยุติธรรม 2) การเตรียมความพร้อม ผู้ใช้บริการในขั้นสอบสวน และชั้นอัยการ
5.การส่งคืนครอบครัวและชุมชน 1) หลักเกณฑ์การยุติการให้บริการ ส่วนใหญ่คล้ายกัน แต่บางบ้านแตกต่างออกไป การประชุมทีมสหวิชาชีพภายใน เพื่อประเมินผู้ใช้บริการ ควร/ไม่ควรกลับคืนสู่ครอบครัวเพราะ.......... ทั้งนี้ต้องติดตามผู้ใช้บริการ และเยี่ยมครอบครัว ชุมชน จนถึงมั่นใจต่อความปลอดภัยของเด็ก เตรียมความพร้อมผู้ใช้บริการ พูดคุยถึงการปรับตัว การอยู่ร่วมกับครอบครัวเก่า/ใหม่ โรงเรียน คนในชุมชน เพื่อนๆ (ถ้า.........) การเตรียมพร้อมครอบครัว ชุมชนที่ต้องพิจารณาเรื่องความปลอดภัยเป็นลำดับสูงสุด ผู้ดูแลหลัก สภาพแวดล้อม ผู้กระทำ..) ส่งผู้ใช้บริการกลับบ้าน ติดตามอีกระยะหนึ่ง และประชุมยุติการให้บริการ เมื่อมีหลักฐานชัดเจนถึงความปลอดภัย
6. การให้การอุปการะเลี้ยงดู ส่วนใหญ่ดำเนินการได้ดีมาก จะชี้ตัวจุดอ่อน การแยกผู้ป่วย ขยะติดเชื้อ/การทำความสะอาดห้องแยกผู้ป่วย และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง อาหารและเครื่องครัว การวางช้อนส้อม ถังแก๊ส น้ำยาล้างจาน เมนูอาหาร ตู้ยา มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบเรื่องยา การอบรมปฐมพยาบาลให้ผู้รับผิดชอบตู้ยา ความปลอดภัย สนามเด็กเล่น บางแห่งมีสนิม ไม่ปลอดภัย ไม่มั่นคง การซ้อมการป้องกันและเผชิญเหตุอัคคีภัย วันหมดอายุของน้ำยาในถังดับเพลิง
หมวดที่ 3 คุณภาพบริการ ความคุ้มค่า สามารถดำเนินการปานกลาง บางแห่งไม่ได้ลงเวลา ในแต่ละขั้นตอน ความต่อเนื่องของแผนพัฒนารายบุคคล สามารถดำเนินการได้ปานกลาง พิจารณาจาก checklist ตามกระบวนงาน บางแห่งใช้ Time line ผลการดำเนินงานแผน ตามIDP ที่จะอยู่ส่วนแรกของแฟ้ม สถิติผู้ใช้บริการที่ส่งต่อ และประสบผลสำเร็จ
3. การประเมินความพึงพอใจ สามารถดำเนินการได้ดี และบางแห่งไม่ได้สรุป 4 3. การประเมินความพึงพอใจ สามารถดำเนินการได้ดี และบางแห่งไม่ได้สรุป 4. การให้บริการที่เป็นประโยชน์ สามารถดำเนินงานได้ดี
ข้อเสนอแนะ ควรมีแผนการติดตามและประเมินผล และคณะทำงาน ประเมินผล และการคำนวณความพึงพอใจ ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ควรอบรมเจ้าหน้าที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์เพื่อการรณรงค์ ควรสัมมนาเครื่องมือพิเศษ เพื่อการคัดกรองผู้ใช้บริการ เด็กทุกคนที่ถูกล่วงละเมิดและถูกกระทำความรุนแรง ควรได้รับการประเมิน IQ ควรสัมมนา IDP/contract service
ข้อเสนอแนะ ควรกำหนดหลักเกณฑ์ การยุติการให้บริการให้ชัดเจน บ้านพักเด็กและครอบครัว ที่ไม่มี case เข้าบ้าน ควรกำหนด case ภายนอก ให้ชัดเจน (หลักเกณฑ์ การประชุมทีมสหวิชาชีพ การสร้างกิจกรรมช่วยเหลือ ฟื้นฟู) การเขียนรายงานการประชุมประจำเดือน ควรพัฒนาเนื้อหาให้ครอบคลุม ควรเตรียมการ แฟ้ม case ใน / case นอก ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ฝึกการเขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ โดยเฉพาะหมวดว่าด้วยการประเมินผล