สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า ศ.กิตติคุณ ดร. ดิเรก ลาวัณย์ศิริ
Advertisements

หลักเกณฑ์และขั้นตอนการจัดทำและพิจารณา
Sustainable Healthcare & Health Promotion
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
1. 2 สถานะโครงการสำคัญในปีงบประมาณ 2559 พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย ส่งมอบ 10 โครงการ 1,384 หน่วย อยู่ระหว่างก่อสร้าง จะแล้วเสร็จ.
สถานการณ์การใช้พลังงาน และมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐ ภาคธุรกิจท่องเที่ยว นางเอมอร ชีพสุมล รองผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 27 พฤษภาคม 2559 การบรรยายพิเศษ.
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
บริษัท จำกัด Logo company
ร่างพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารสาธารณะ พ.ศ. ....
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
มอบนโยบายการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย โดย นายอาทิตย์ วุฒิคะโร
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพที่จ่ายไฟเข้าระบบแล้ว (COD)
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
EEC : EASTERN SPECIAL ECONOMIC CORRIDOR อีอีซี : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก.... กรณีศึกษา : มิติการลงทุนและการจ้างงาน โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย.
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
ตอนที่ 2 ขอบเขตการบังคับใช้ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ
บริษัท จำกัด Logo company
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0
การทบทวนกระบวนการจัดทำแผน
ดิจิตอลเบื้องต้น อ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
แนวทางการจัดทำแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
Database ฐานข้อมูล.
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
การใช้สิทธิตามกฎหมายและการติดตามตรวจสอบมาตรการตาม EIA
“การใช้สิทธิของประชาชนและชุมชนในการคุ้มครองสุขภาพและสิ่งแวดล้อม”
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
นโยบายรัฐบาลกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย
อนาคตประเทศไทยหลังปี 2560 ผลกระทบจาก AEC ดีกับไทยหรือไม่
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
มอบนโยบายการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย โดย นายอาทิตย์ วุฒิคะโร
MOCKUP PACKAGE Digital Restaurant.
สมาคมนักวิเคราะห์การลงทุน เชิญร่วมสัมมนา ฟรี!
การทบทวนผลการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2559
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
National Policy in CKD Prevention
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
แนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาค โดย ว่าที่ ร.อ.จิตร์ ศิรธรานนท์
ปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงชีวิต
โรงไฟฟ้าขยะที่จ่ายไฟเข้าระบบแล้ว (COD)
กองคลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
การคำนวณสารตามที่กฎหมายประกาศกำหนด
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโครงการ
ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
การเขียนย่อหน้า.
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
งาน Trade Association’s President Club (TAP)
“ทิศทางความร่วมมือในการลดการประสบอันตรายและโรคจากการทำงาน”
ภายในปี 2564 สหกรณ์และเกษตรกร
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
การเมืองไทยในปัจจุบัน
โดย การอภิปราย “แนวทางการปฏิบัติงานในการพิจารณาอนุญาตฯ (รง.4)”
Chapter I Introduction to Law and Environment
Traditional SMEs Smart SMEs + Start up High – Skill Labors
คิดใหม่ ทำใหม่ ประสงค์ นรจิตร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม
สรุป การวัดความต้านทาน ด้วยวิธีการต่างๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย

ยุทธศาสตร์อ้อยโรงงานและน้ำตาลทราย หน่วย ปี 2558 ปี 2559 ปี 2569 พื้นที่ ล้านไร่ 10.53 11.03 16 เกษตรกร/แรงงาน ล้านคน 1 อ้อย ล้านตัน 105.96 94.05 180 ผลผลิตต่อไร่ ตัน/ไร่ 10.06 8.52 11.40 น้ำตาลทราย 11.34 9.78 20.36 ประสิทธิภาพ การผลิตน้ำตาล ก.ก./ตันอ้อย 107.02 103.98 112 เอทานอล ล้านลิตร/วัน 2.5 5.38 ไฟฟ้า MW 1,542 1,500 4,000 รายได้ ล้านบาท 200,000 150,000 500,000 2

การส่งเสริม และพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย มุ่งสู่ การเติบโตอย่างมี เสถียรภาพ และยั่งยืน การจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนา การรักษาเสถียรภาพกองทุนฯ การกำหนดมาตรฐานการผลิตน้ำตาลทรายและต้นทุนอ้อย น้ำตาลทราย 5 4 - การจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาอ้อยและน้ำตาลทราย และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง รวมถึงความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างๆ -วิจัยและพัฒนาอ้อยพันธุ์ดี - ส่งเสริมการผลิตอ้อยและน้ำตาลด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ - พัฒนากระบวนการผลิต มุ่งสู่อุตสาหกรรมสีเขียวและพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปเชิงนิเวศ ปรับปรุงกฎหมาย พรบ. อ้อยและน้ำตาลทราย กฎหมายระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การเพิ่มผลิตภาพอ้อยและน้ำตาลทราย - กำหนดแนวทางการรักษาเสถียรภาพกองทุน ฯ - แก้ไขสภาพคล่องของโรงงานน้ำตาลที่ประสบปัญหา -สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ 3 -ผลักดันการกำหนดมาตรฐานการผลิตน้ำตาลทราย - กำหนดต้นทุนการผลิตน้ำตาลทราย 2 -เกษตรแปลงใหญ่สมัยใหม่ใช้เครื่องจักรกล -แก้ปัญหาอ้อยไฟไหม้เป็นศูนย์ภายใน 5 ปี -สร้างผลิตภัณฑ์น้ำตาลมูลค่าสูง - นำผลพลอยได้และของเสียไปเป็นผลิตภัณฑ์ 1 - ประกาศกระทรวงเพื่อการอนุญาตให้ตั้งและขยายโรงงานน้ำตาล - จัดทำร่างการแก้ไข พ.ร.บ. อ้อยและน้ำตาลทราย เพื่อให้สามารถนำอ้อยไปผลิตเป็นอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่นๆ - แก้ไขกฎหมายผังเมืองให้สามารถตั้งโรงงานน้ำตาลและเอทานอลในพื้นที่ปลูกอ้อยได้ - ผลักดัน พ.ร.บ.ส่งเสริมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม EIA สู่ ECO

1. ปรับแก้กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้ครอบคลุมและเอื้อต่อการพัฒนา พ.ร.บ.อ้อยและน้ำตาลทราย พ.ศ.2527 - ให้ครอบคลุมอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากอ้อย เช่น เอทานอล ไบโอพลาสติก ไบโอเคมี พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2535 - ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ตาม มาตรา 32 เรื่องการกำหนดพื้นที่ให้ตั้งหรือไม่ให้ตั้งโรงงาน น้ำตาล โรงงานเอทานอลและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง - การนำกากของเสียจากโรงงานน้ำตาลฯกลับมา ใช้ประโยชน์ในไร่อ้อย พ.ร.บ.ผังเมือง พ.ศ.2518 ให้สอดคล้องกับพื้นที่ตั้ง โรงงานน้ำตาลและกิจกรรมต่อเนื่อง เช่น การผลิต ไฟฟ้า ไบโอแก๊ส เอทานอล โรงงานปุ๋ย ฯลฯ พ.ร.บ.ส่งเสริมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พ.ศ.2542 - EIA ฉบับมาตรฐาน ตามมาตรา 46 สำหรับ โรงงานน้ำตาล เอทานอล รองรับการผลิตแบบ “เกษตร-อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ”

2. การเพิ่มผลิตภาพอ้อยและน้ำตาลทราย 2. การเพิ่มผลิตภาพอ้อยและน้ำตาลทราย การเพิ่มผลิตภาพอ้อย - การวิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อย ที่เหมาะสมต่อ สภาพดิน น้ำ แปลงปลูก ระยะเวลาปลูกและเก็บเกี่ยว ความต้านทานโรคและแมลง ผลผลิตต่อไร่ ความ หวานและการสะสมน้ำตาล ฯลฯ - การรวมแปลงไร่อ้อยและส่งเสริมการปลูกอ้อย แบบเกษตรสมัยใหม่ - การบริหารจัดการพื้นที่แปลงปลูกอ้อยแบบ หน่วยผลิต อ้อยตัดส่งโรงงาน อ้อยทำพันธุ์ พืชผัก สวนครัวเกษตรผสมผสาน พื้นที่แหล่งน้ำและระบบ ชลประทาน - การบริหารจัด การนำเครื่องจักรกลการเกษตร มาใช้ในแปลงปลูกอ้อย จัดแปลงปลูกอ้อยให้เหมาะสมในการใช้เครื่องจักรกลเพื่อ ลดต้นทุน วิธีและระยะเวลา การปลูก บำรุงรักษา การเก็บเกี่ยวอ้อยสดสะอาดส่ง โรงงาน - การเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ด้วยใบอ้อย น้ำเสียจากโรงงาน ปุ๋ยกากอ้อย เถ้าจากโรงไฟฟ้าชีว มวล ฯลฯ - การบำรุงรักษาและยืดอายุอ้อยตอ - การพัฒนาแหล่งน้ำและชลประทาน ตามความ เหมาะสม

2. การเพิ่มผลิตภาพอ้อยและน้ำตาลทราย (ต่อ) 2. การเพิ่มผลิตภาพอ้อยและน้ำตาลทราย (ต่อ) การเพิ่มผลิตภาพน้ำตาลทรายและผลิตภัณฑ์ต่อเนื่อง - ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตน้ำตาลทราย (กิโลกรัมน้ำตาล/ตันอ้อย) - เพิ่มมูลค่าน้ำตาลทรายด้วยผลิตภัณฑ์น้ำตาล มูลค่าสูง - เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ไอน้ำและผลิตไฟฟ้าจาก กากอ้อย (หน่วย/ตันอ้อย) - พัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากอ้อย เช่น เอ ทานอล ไบโอพลาสติก ไบโอเคมี ไบโอแก๊ส ไม้ปาติเคิล ปุ๋ยอินทรีย์ กระดาษ สิ่งทอ ฯลฯ - นำของเสียจากโรงาน(น้ำเสีย กากอ้อย เถ้า อ้อย) กลับมาใช้ในไร่อ้อยเพื่อลดต้นทุนการบำบัดของเสีย - บริหารจัดการ การรับและหีบอ้อยตาม กำหนดเวลา - ลดต้นทุนด้านพลังงาน ด้วยการใช้น้ำเชื่อมแทน น้ำตาลทรายขาว ในโรงงานผลิตเครื่องดื่มและอาหาร ส่งเสริมนิคมอุตสาหกรรมขนมหวาน - ลดต้นทุนการเคลื่อนย้ายน้ำตาล ด้วยการบริหาร จัดการ - การกำหนดนโยบายขายน้ำตาลที่จุดคุ้มค่าเพื่อ เสถียรภาพราคาอ้อย

3. การกำหนดมาตรฐานการผลิตน้ำตาลทราย 3. การกำหนดมาตรฐานการผลิตน้ำตาลทราย คณะกรรมการ กำหนดมาตรฐานการผลิตน้ำตาลทราย เก็บข้อมูล วิเคราะห์ วิจัย กระบวนการผลิตน้ำตาล ทรายของตัวแทนโรงงานโดยละเอียด เพื่อกำหนดมาตรฐานการผลิตน้ำตาลทราย นำเข้าคณะกรรมการฯต่างๆให้ความเห็นชอบและ ประกาศใช้ เป้าหมาย ดำเนินการให้แล้วเสร็จและประกาศใช้ในฤดู หีบ 59/60 ผลกระทบ - ลดข้อโต้แย้งระหว่างชาวไร่อ้อยและโรงงาน ใน เรื่อง การแบ่งแยกเขตการคำนวณราคาอ้อย (กรณี โรงงานประสิทธิภาพการผลิตไม่เท่าเทียมกัน) - สร้างความเป็นธรรมในระบบแบ่งปันผลประโยชน์ อ้อยและน้ำตาลทราย - ผลักดันให้โรงงานเร่งปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ผลิตน้ำตาล - เพิ่มโอกาสการเรียกเก็บเงินเข้ากองทุนอ้อยและ น้ำตาล ตามมาตรา ๕๗

4. การรักษาเสถียรภาพกองทุนอ้อยและน้ำตาลทราย 4. การรักษาเสถียรภาพกองทุนอ้อยและน้ำตาลทราย เร่งรัดการบริหารจัดการเพื่อให้มีการเรียกเก็บ เงินเข้ากองทุนฯตามมาตร 57 เพื่อให้กองทุน มีเงินเหลือในการดำเนินงาน ดำเนินการให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำตามนโยบาย รัฐบาลในเรื่องต่างๆ เช่น โครงการเงินกู้สร้าง แหล่งน้ำช่วยภัยแล้ง โครงการเงินกู้เพื่อจัดซื้อ เครื่องจักรกลเกษตร ดำเนินการแก้ไขปัญหาโรงงานน้ำตาลขาด สภาพคล่องในฤดูหีบอ้อย ให้ทุนในการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมจาก อ้อย สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน วิจัย และพัฒนาอุตสาหกรรม จากอ้อยและน้ำตาลทราย รักษาเสถียรภาพราคาอ้อยและน้ำตาลทราย

5. การจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย 5. การจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย ผสมพันธุ์ คัดเลือก พัฒนา พันธุ์อ้อย ให้ เหมาะสมแต่ละชนิดตามปัจจัย การผลิตที่ ต้องการ เช่น พื้นที่ปลูก ลักษณะดิน ระยะเวลาปลูก ระยะเวลาเก็บเกี่ยว ทนทานต่อ ความแห้งแล้ง ทนทานต่อน้ำท่วม ทนทานต่อ โรคและแมลง ผลผลิตต่อไร่ ค่าความหวานและ ปริมาณน้ำตาล ฯลฯ วิจัยและพัฒนาการผลิตน้ำตาลทราย อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากอ้อย สร้างองค์ความรู้และถ่ายทอด การบริหารจัดการ แปลงปลูกอ้อยสมัยใหม่ ให้ทุนส่งเสริมการปรับเปลี่ยนการเพาะปลูกอ้อย สู่ เกษตรสมัยใหม่

5. การจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย (ต่อ) 5. การจัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย (ต่อ) จัดฝึกอบรม เปิด-พัฒนาหลักสูตรการเรียนการ สอน ด้านอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย ห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์ ทดลอง การ ตรวจสอบ วัด กำหนด ค่ามาตรฐานต่างๆที่ใช้ ในอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย ประสานความร่วมมือ กับ สถาบันการศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อการวิจัยและพัฒนา อุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาลทรายและผลิตภัณฑ์ ต่อเนื่อง เก็บสะสม ถ่ายทอด องค์ความรู้ ภายใต้ นโยบาย Digital Economy

การดำเนินการอนุญาตให้ตั้ง และขยายโรงงานน้ำตาล มีผู้ขออนุญาตตั้งโรงงานน้ำตาลใหม่ จำนวน 37 ราย ได้รับอนุญาตให้ตั้งโรงงานใหม่ จำนวน 14 โรงงาน และจะมีพื้นที่ ปลูกอ้อยเพิ่มขึ้นประมาณ 2.80 ล้านไร่ มีวงเงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 65,000 ล้านบาท มีผู้ประกอบการเดิมขอขยายกำลังการผลิต จำนวน 18 ราย ได้รับอนุญาตจำนวน 16 โรงงาน และจะมีพื้นที่ ปลูกอ้อยเพิ่มขึ้นประมาณ 2.38 ล้านไร่ มีวงเงินลงทุนไม่ต่ำกว่า 40,000 ล้านบาท คาดว่าจะมีวงเงินลงทุนโดยตรงรวมทั้งสิ้นไม่ต่ำกว่า 100,000 ล้านบาท มีพื้นที่ปลูกอ้อยเพิ่มขึ้นประมาณ 5.18 ล้านไร่ ผลผลิตอ้อยเพิ่มขึ้น 58 ล้านตัน และมีการจ้างงานโดยตรงเพิ่มขึ้นกว่า 10,000 ราย และการจ้างงานทางอ้อมอีกจำนวนมากในปี 2562

หลักเกณฑ์การให้ตั้งและขยายโรงงานน้ำตาลในทุกท้องที่ การตั้งโรงงานน้ำตาล มีเขตโรงงานน้ำตาลที่มีระยะห่างจากเขต โรงงานที่ได้รับอนุญาตไว้แล้วไม่น้อยกว่า 50 กิโลเมตร โดยการวัดเป็นเชิงเส้นตรง มีแผนการเตรียมปริมาณอ้อยจากการ ส่งเสริมและพัฒนาอ้อยเข้าสู่โรงงานน้ำตาล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกำลังการผลิต ของฤดูการผลิตนั้น ๆ โดยกำหนดจำนวน วันหีบอ้อยของโรงงานน้ำตาลทั่วประเทศ เฉลี่ย 120 วันต่อปี และต้องไม่ใช่อ้อย ของเกษตรกรที่เป็นคู่สัญญากับโรงงาน น้ำตาลอื่น

หลักเกณฑ์การให้ตั้งและขยายโรงงานน้ำตาลในทุกท้องที่ (ต่อ) การขยายโรงงานน้ำตาล กระทำได้เมื่อโรงงานน้ำตาลทรายจะขยาย นั้นมีปริมาณอ้อยจากการส่งเสริม และ พัฒนาอ้อยของโรงงานน้ำตาลเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 3 ปี อีกทั้งโรงงาน นั้นไม่อาจหีบอ้อยได้ทันตามเวลาที่ คณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กำหนด มีแผนการเตรียมปริมาณอ้อยจากการ ส่งเสริมและพัฒนาอ้อยเข้าสู่โรงงานน้ำตาล ในส่วนที่จะขออนุญาตขยายโรงงานน้ำตาล ด้วยและต้องไม่ใช่อ้อยของเกษตรกรที่เป็น คู่สัญญากับโรงงานน้ำตาลอื่น

หลักเกณฑ์การให้ตั้งและขยายโรงงานน้ำตาลในทุกท้องที่ (ต่อ) ผู้ขออนุญาตต้องดำเนินการขออนุญาตตั้งหรือ ขยายโรงงานน้ำตาลให้แล้วเสร็จและเริ่มประกอบ กิจการภายใน 5 ปี นับจากวันที่ได้รับการ รับรองจากสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาล ทราย หากดำเนินการไม่แล้วเสร็จให้ถือว่าการ รับรองสิ้นสุดลง

การแก้ไขสถานการณ์ภัยแล้ง ของสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย

การดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา (ปี 2558/59) สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย กำหนดแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาอ้อยไฟไหม้ ดังนี้ 1. มีหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัด จำนวน 27 จังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด โรงงานน้ำตาล และสมาคม/สถาบันชาวไร่ อ้อย (คณะอนุกรรมการบริหารส่วนท้องถิ่น) เพื่อขอความร่วมมือ ในการกำกับดูแลไม่ให้มีการเก็บเกี่ยว อ้อยด้วยวิธีการเผาไร่อ้อย โดยเฉพาะในพื้นที่แปลงปลูกอ้อยที่อยู่ใกล้กับชุมชนหรือบ้านเรือน ของประชาชนรวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรชาวไร่อ้อย ทราบว่าการเผาไร่อ้อย อาจมีความผิดตามพระราชบัญญัติการ สาธารณสุข พ.ศ. 2535 2. มีมาตรการแก้ไขปัญหาด้วยการตัดราคาอ้อยไฟไหม้ที่ส่ง เข้าหีบเป็นเงิน 20 บาทต่อตันอ้อย โดยนำเงินส่วนนี้ไปเพิ่มให้กับ เกษตรกรชาวไร่อ้อยที่ตัดอ้อยสดแทน 3. จัดอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ โดยชี้ให้เห็นถึงข้อดี ของการตัดอ้อยสด และผลกระทบของการเผาอ้อย รวมถึงขอให้ ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมกันเฝ้าระวังการลักลอบเผาไร่อ้อย 4. สอน. ได้ดำเนินโครงการสินเชื่อสำหรับการจัดซื้อรถตัด อ้อย ซึ่งสามารถเพิ่มรถตัดอ้อยได้ประมาณ 165 คัน และได้ สนับสนุนสินเชื่อเงินกู้ในอัตราดอกเบี้ยต่ำ วงเงิน 467.56 ล้าน บาท เพื่อจัดหาแหล่งน้ำดิบให้กับเกษตรกรชาวไร่อ้อย 5. ในระยะยาวได้ส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกอ้อยเกษตร สมัยใหม่ ด้วยการนำเทคโนโลยีมาใช้ เพื่อลดต้นทุนและลด ปริมาณอ้อยไฟไหม้ให้หมดไป

แผนการรับมือสถานการณ์ภัยแล้ง ของสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย 1. สอน. กำหนดรูปแบบการช่วยเหลือเกษตรกรชาวไร่อ้อยเพื่อการรับมือ สถานการณ์ภัยแล้ง ภายใต้โครงการส่งเสริมสินเชื่อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต อ้อยอย่างครบวงจร 3 ปี (พ.ศ. 2559 - 2561) โดยสนับสนุนสินเชื่อเงินกู้ให้กับ เกษตรกรชาวไร่อ้อยในอัตราดอกเบี้ยต่ำ วงเงินรวม 9,000 ล้านบาท 1.1 การพัฒนาแหล่งน้ำและการบริหารจัดการน้ำในไร่อ้อย วงเงินปีละ 500 ล้านบาท รวม 3 ปี เป็นเงิน 1,500 ล้านบาท ในการขุดสระกักเก็บน้ำ การเจาะน้ำบาดาล และการ สร้างระบบส่งน้ำ โดยการรวมกลุ่มชาวไร่อ้อย และโรงงาน รวมทั้งระบบน้ำหยด การจัดซื้อเครื่องยนต์ และวัสดุอุปกรณ์ให้น้ำใน ไร่อ้อย 1.2 สนับสนุนสินเชื่อเงินกู้ให้กับเกษตรกรชาวไร่อ้อยเพื่อซื้อเครื่องจักรกล การเกษตร วงเงินปีละ 2,500 ล้านบาท รวม 3 ปี เป็นเงิน 7,500 ล้านบาท ใน การซื้อรถตัดอ้อย รถคีบอ้อย รถแทรกเตอร์ รถบรรทุกอ้อย และเครื่องจักรกล การเกษตรอื่นๆ เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน 2. สอน. ได้จัดสัมมนา เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานให้กับ คณะอนุกรรมการบริหารส่วนท้องถิ่นและคณะอนุกรรมการอ้อยระดับท้องถิ่น เมื่อ วันที่ 8 มีนาคม 2559 ณ โรงแรม เซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร โดยเชิญ อุตสาหกรรมจังหวัดทั้ง 27 จังหวัด ที่เป็นเลขานุการในคณะอนุกรรมการท้องถิ่น ทั้ง 2 ชุด เข้ารับการอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เพื่อ เตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์ภัยแล้ง และสำรวจความต้องการของชาวไร่อ้อย 3. สอน. ได้จัดทำแผนปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย โดยได้ นำเสนอ ครม. และได้รับความเห็นชอบเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 10 พ.ค.59 4. สอน. จะดำเนินการสำรวจประมาณการกักเก็บน้ำของโรงงานน้ำตาลทราย เพื่อ เตรียมการช่วยเหลือกรณีเกิดปัญหา การขาดแคลนน้ำในพื้นที่