สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
Advertisements

(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล
สรุปผลการประชุมคณะทำงานกำหนดแนวทาง การใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
งบแสดงสถานะการเงิน รายการ ปีงบ 61 ณ 28 ก.พ. 61
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
แผนการเงินการคลัง (Planfin) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
CFO เขตสุขภาพที่ 2.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
สรุปผลการตรวจราชการฯ
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
รายงานความก้าวหน้าคณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร (Chiang Mai Provincial Resource Supportive Board) 31 สิงหาคม 2560.
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
คลินิกหมอครอบครัวคุณภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561 สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561

กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์

ประเด็น : แผนงานโครงการ คปสอ.สามโก้ ประเด็น : แผนงานโครงการ คปสอ.สามโก้   แผนปฏิบัติการ ไตรมาสที่1 หน่วยงาน จำนวนโครงการ อนุมัติ จำนวนงบประมาณ UC Non เงิน อื่นๆ แผน ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ (PP) บำรุง ระบุ โรงพยาบาลสามโก้ 12 6 5,410,785 4,583,791 - 250,530 576,464 1,096,730 สสอ.สามโก้ 10 1 193,680 135,830 57,850 3,640 รวม 22 7 5,604,465 308,380 1,100,370 เงิน pp ปี 2561 จำนวน 1,322,770 บ. *จัดทำโครงการ 4,583,791 บ. กิจกรรมส่งเสริม 2,847,341 บาท ซื้อวัสดุ ยา บริการพื้นฐาน 1,736,450 บาท

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา แผนงานโครงการ -โครงการที่ได้รับอนุมัติยังไม่เป็นไปตามแผน โครงการที่อนุมัติแล้วอยู่ในระหว่างดำเนินการ จัดทำแผนงานโครงการ 4.5 ล้าน แต่งบ PP จัดสรรประมาณ 1.3 ล้าน CUP มีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการไว้ และจะมีการปรับแผน 6 เดือน โครงการ PP รพ.เป็นเจ้าภาพในการจัดโครง แต่การจัดกิจกรรมทำร่วมกัน ระหว่าง รพ. สสอ. รพ.สต ผู้รับผิดชอบไม่ค่อยรายงานผลการดำเนินงานให้งานแผนงานของหน่วยงาน ผู้รับผิดชอบงานแผนงานของ สสอ. รับผิดชอบงานรายด้านทำให้การดำเนินงาน และการติดตามแผนงานโครงการล่าช้า -ผู้รับผิดชอบโครงการเร่งรัดจัดทำโครงการและรายงานผลโครงการให้งานแผนของ รพ. -นำเรื่องเข้าเป็นวาระติดตามในการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล -ปรับแผนงานโครงการ รอบ 6 เดือน

งานเทคโนโลยีสารสนเทศ

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 1. การดูแลโปรแกรม บันทึกข้อมูลสุขภาพ(HOSxP, HOMC) - การบำรุงรักษา สำรอข้อมูล - การบันทึกข้อมูล และส่งออกข้อมูล สภาพเครื่องที่ใช้งานในการบันทึกข้อมูล เครื่อง HOSxP ประมาณ 40 เครื่อง การบันทึกข้อมูลตามตัวชี้วัดบางตัว ยังไม่ได้ดำเนินการ ควรกำหนดผู้กำกับติดตามผลงานจาก HDC

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 2. การดำเนินงานในบทบาทคณะกรรมการคุณภาพข้อมูลบริการสุขภาพ - ทีมพัฒนาคุณภาพ ข้อมูล Health Data Center (HDC) ทีมพัฒนาคุณภาพข้อมูล 43 แฟ้ม ยังไม่มีแผนการประชุมคณะกรรมการ - ควรรวบรวมประเด็นปัญหา เข้าประชุมคณะกรรมการคุณภาพข้อมูล 3. คุณภาพข้อมูล ตามตัวชี้วัดการ ตรวจราชการ - ข้อมูลสาเหตุการตายที่ไม่ทราบสาเหตุ ( ill-defined error) ข้อมูล เดือน ตค. พย.60 ตายทั้งหมด 30 คน Ill error 2 คน ร้อยละ 6.67 - ยังไม่มีการติดตามข้อมูลสาเหตุการตาย ของของการตาย นอก รพ. ประสานข้อมูลกับที่ว่าการอำเภอ ใช้ข้อมูล จากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) 4.รูปแบบการใช้ประโยชน์จากศูนย์ข้อมูลอำเภอ กำลังปรับปรุงเว็บไซต์

กลุ่มงานควบคุมโรค

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้องรับ โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง Primary Prevention 1 ผลการคัดกรอง DM ร้อยละ 60.6 HT ร้อยละ 61.9 กลุ่มเสี่ยง -DM 133 ราย ร้อยละ 6.4 -HT 302 ราย ร้อยละ 7 2. แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง มีแผนงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงทุก รพ.สต. 1.ผลการคัดกรอง DM สูง ต่ำ ผิดปกติ -ผลการคัดกรองต่ำผิดปกติ 0.00, 0.05,0.62 ที่รพ.สต. ราษฎรพัฒนา รพ.สต.อบทม รพ.สต. มงคลธรรมนิมิต รพ.สามโก้ / รพ.สต. มงคลธรรมนิมิต ร้อยละ 3 , ร้อยละ 29 -ผลการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงสูงผิดปกติ รพ.สามโก้ ร้อยละ 40 รพ.สต. มงคลธรรมนิมิต ร้อยละ 0.23 สาเหตุ - การคีย์ข้อมูลลงข้อมูลกลุ่มเสี่ยงก่อนกลุ่มปกติยังไม่ได้คีย์ -เร่งรัดการคัดกรอง และบันทึกข้อมูลให้เสร็จภายในเดือนมกราคม 2561

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา Secondary Prevention 1 การควบคุมระดับน้ำตาล ร้อยละ 4.6 การควบคุมระดับความดัน ร้อยละ 14.5 2. ผลการคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อน - CVD Risk ร้อยละ 29.1 - จอประสาทตา ร้อยละ 1 - ไต ร้อยละ 9.7 - เท้า ร้อยละ 2.4 3. มีคลินิก NCD ทุก รพ.สต. ผู้ป่วย ร้อยละ 20 - 30 4.มีการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มที่ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันไม่ได้ -การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนต่ำกว่าเป้าหมาย -ไม่มีเครื่องตรวจ จอประสาทตา 1.วางแผนการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ดังนี้ -ตา เท้า เดือน ก.พ. 61 -CVD Risk และ ไต เดือน ม.ค. 61 2.มีการจัดทำแนวทางการปฏิบัติของ คปสอ. สามโก้ในการควบคุมน้ำตาลและความดัน -วางแผน ( P) -จัดกิจกรรม ( D) -ตรวจสอบข้อมูล ( C ) -ปรับปรุงแก้ไข ( A )

171 88 การรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอด (TB) เขตสุขภาพที่ 4 ปี 2564 ต่อแสน ปชก. เป้าหมายระดับประเทศ อุบัติการณ์วัณโรคลดลง ร้อยละ12.5 ต่อปี อัตราความสำเร็จการรักษา วัณโรคทุกประเภท ร้อยละ 85 88 ต่อแสน ปชก.

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรค 1.เป้าหมายผลการคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง -ไม่มีข้อมูลเป้าหมายกลุ่มเสี่ยง TB - จัดทำข้อมูลกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายให้แล้วเสร็จภายในเดือน มกราคม 2561 เป้า ผลงาน ร้อยละ 1 ผู้สัมผัส TB 2 HIV 3 DM รายใหม่ DM คุมน้ำตาลไม่ได้ 4 แรงงานต่างดาว 5 สูงอาย 65 ปีขึ้นไป COPD 6 บุคลการการแพทย์

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการควบคุมโรค 2. อัตราอุบัติการณ์วัณโรค ปี 58 = 41.4 : แสน ปี 59 = 51.7 : แสน ปี 60 = 77.6 : แสน 3. อัตรารักษาสำเร็จ ปี 58 = 100 % ปี 59 = 100% ปี 60 = 100 % 4. ปี 2561 (ต.ค. – ธ.ค.60 ) ผู้ป่วยขึ้นทะเบียน 3 ราย - M- 2 ราย -Relapse 1 ราย

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) HA อยู่ขั้น 2 ระยะเวลารับรอง 28 มิย. 60 – 27 มิ.ย. 61 มีการจัดทำ Time Line ในการต่ออายุ ขั้น 2 เดือน มิ.ย. 61 -ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินงานคุณภาพ -งบประมาณในการดำเนินงาน ผู้บริหารจัดทีมและผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ดำเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดให้ผู้ปฏิบัติให้ชัดเจน ประมาณการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโดยแยกเป็นรายการเช่น ระบบยา IC บริหารความเสี่ยง สิ่งแวดล้อม

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) Home Ward มีข้อมูลผู้ป่วยในภาพ CUP และกำหนดผู้รับผิดขอบ มีระบบส่งต่อที่เชื่อมโดยถึงชุมชน มีการจัดระบบจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ สนับสนุนการดูแลผู้ป่วยติดเตียงในภายCUP การรายงานผลการเยี่ยมบ้ายยังไม่เป็นไปตามแนวทาง ทบทวนแนวทางการรายงานผลการเยี่ยมบ้านกับผู้เกี่ยวข้อง เช่นผู้ป่วย โครงการ IMC ให้ประสานกับกายภาพ

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) พชอ ทีมเลขาเข้ารับการอบรมเมื่อวันที่ 8-9 มกราคม 2561 -ทบทวนคำสั่งคณะกรรมการ พชอ. ตามร่างระเบียบสำนักนายก -อยู่ระหว่างดำเนินการ กำหนดวันประชุมคณะกรรการเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและกำหนดประเด็นอย่างน้อย 2 เรื่อง

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) รพ.สต ติดดาว กำหนดพื้นที่เป้าหมาย 2 แห่ง รพ.สต. โพธิ์ม่วงพันธ์ และรพ.สต.อบทม มีการแต่งตั้งคณะกรรมการระดับอำเภอ ถ่ายทอด เกณฑ์การพัฒนาสู่ระดับตำบล ประเมินตนเองและจัดทำแผนพัฒนา การเขียนแบบด้านปรับโครงสร้างล่าช้า ประสานกับช่างโยธาในการจัดลำดับการเขียนแผนการปรับโครงสร้าง

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) PCC มีการจัด mapping ใหม่เป็น 2 ทีม ทีมแรก เปิดดำเนินการปี 2563 -

กลุ่มงานทันตสาธารณสุข

แผนงาน/โครงการ/ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหา/สาเหตุ แนวทางการแก้ไข (ใครทำอะไร อย่างไร) โครงการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ ช่องปากใน รพ.สต. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 60 จัดระบบบริการทันตกรรม ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100 พัฒนาศักยภาพ อสม. ด้านทันตสาธารณสุข

กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค 1.มีแผนการดำเนินงานตรวจสอบคุณภาพและฉลากของผลิตภัณฑ์สุขภาพ และมีแผนการออกตรวจประเมินสถานที่ผลิตตามเกณฑ์ GMP/Primary GMP 2.มีแผนและดำเนินการจัดซื้อชุดทดสอบตรวจสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์สุขภาพ อยู่ระหว่างรอการจัดส่งชุดทดสอบ ไม่มี ไม่มี่

2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) ผ่าน RDU 1 (ระดับรพ.) ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.การดำเนินงานเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU) ผ่าน RDU 1 (ระดับรพ.) ขั้นที่ 2 ไม่มี ผ่าน RDU 2 (ระดับอำเภอ)ขั้นที่ 2 เกณฑ์≥ 60% ผลงาน 80% ผลจากHDC สรุปว่า รพ.สต.อบทมไม่ผ่านตชว.อุจจาระร่วง เนื่องจากจำนวนคนไข้ =0 1. ให้รพ.สต.ที่มีจำนวน case เป็น 0 ทบทวนข้อมูล

กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อม

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา โครงการ GREEN CLEAN Hospital โรงพยาบาลสามโก้ ๑.ขยะ ติดเชื้อ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย     ในโรงพยาบาล มีการบริหาร จัดการโดยให้บริษัทเอกชนเข้ามารับทุกวันศุกร์ นำไปกำจัดขยะ อำเภอบางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา ในชุมชน (Home Word) และ รพ.สต. นำมารวบรวมไว้ที่ รพ. -- ขายนำเงินเข้าโรงพยาบาล ส่ง เทศบาล บางครั้งมีขยะ ตกค้างที่ รพ. เนื่องจากบริษัทมาเก็บไม่ตรงเวลา ( หจก.พีระภัทร) โทรตาม ปรับตามสัญญา ประสานกับ รพ.วิเศษชัยชาญในการฝากขยะติดเชื้อ (เป็นบริษัทเดียวกัน)

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา ๒.ส้วม ทุกแผนก สำรวจข้อมูลโดยให้ประเมินตนเอง OPD ทำความสะอาด ทุกชั่วโมง IPD ห้องพิเศษ และห้องรวม - สุขภัณฑ์ชำรุด - ได้มาตรฐาน -แนะนำให้ปรับปรุงและซ่อมแซม ๓.สิ่งแวดล้อม เก็บตัวอย่างน้ำเพื่อส่ง น้ำ ได้มาตรฐาน ตรวจปีละ ๒ ครั้ง น้ำเสีย ( โดยส่งตัวอย่างตรวจทุกไตรมาส) พบ TDS เกินมาตรฐาน - แนะนำให้มีการปรับปรุงให้ได้ตามเกณฑ์

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา ๔.พลังงาน ทางโรงพยาบาล มีมาตรการที่ชัดเจนจัดในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า โดย -เปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่มีอายุการใช้งานนาน เช่น หลอดไฟฟ้า คาดว่าจะสามารถลดการใช้พลังงานลงได้ ใช้ระบบ Timmer ในแต่ละ แผนก เพื่อควบคุมเวลาในการประหยัดพลังงาน - ๕.อาหาร มีการตรวจอาหาร - ปีละ ๑ ผ่านเกณฑ์

กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล

ประเด็นการติดตาม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา การดำเนินการงานถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับบุคคลของหน่วยงาน กระบวนการในการถ่ายทอดตัวชี้วัด -มีการประชุมชี้แจงและถ่ายทอดตัวชี้วัดหน่วยงาน ลงสู่ หัวหน้า -คณะกรรมการกลั่นกรองที่พิจารณาตัวชี้วัด -หัวหน้า มอบหมายตัวชี้วัด ลงสู่ผู้ปฏิบัติ สสอ. การมอบหมายตัวชี้วัดล่าช้า -เร่งรัดการดำเนินการมอบหมายตัวชี้วัด ทุกคนและรวมกลุ่มกันกำหนดตัวชี้วัด

งานการเงินและบัญชี

คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ (แผนยุทธศาสตร์บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาลGovernance Excellence) โครงการที่ 13 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ ตัวชี้วัด ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบปัญหาวิกฤตทางการเงิน สรุปนิเทศโรงพยาบาลสามโก้ วันที่ 12 มกราคม 2561

ประเด็นการตรวจ 1.การบริหารแผนทางการเงินและการกำกับติดตาม 1.1การจัดทำแผนทางการเงินการทำแผนทางการเงิน ครบถ้วน 7 แผน ผ่านการอนุมัติจากนพ.สสจ. และผู้ตรวจราชการตามกำหนดเวลา 1.1.1การทำแผน planfinรายได้ (ไม่รวมงบลงทุน) จำนวน 60,950,000 บาท ค่าใช้จ่าย(ไม่รวมค่าเสื่อม) จำนวน 69,950,000 บาท ทำแผนแบบสมดุล EBITDA = 0 บาท วงเงินที่ลงทุนได้ (ร้อยละ 20%ของ EBITDA = 0 บาท ทำแผนลงทุนด้วยเงินบำรุง = 0 บาท งบลงทุนด้วยเงินบำรุงเปรียบเทียบEBITDA>20% = 0 บาท NI = 4,455,000 บาท รายได้งบลงทุน = 785,000 บาท (งบค่าเสื่อมรพ. = 785,000 บาท งบค่าเสื่อม รพสต. = 337,000 บาท) เงินงบประมาณ อาคารโรงครัว = 8,745,000 บาท 1.1.2.แผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จำนวน จำนวน 7,750,000 บาท 1.1.3.แผนจัดซื้อวัสดุอื่น จำนวน 1,380,000 บาท 1.1.4.แผนบริหารจัดการเจ้าหนี้ จำนวน 23,350,000 บาท 1.1.5.แผนบริหารจัดการลูกหนี้ จำนวน 29,150,000 บาท 1.1.6.แผนงบลงทุน จำนวน 785,000 บาท 7.แผนสนับสนุนรพสต.จำนวน 2,275,000 บาท

งบค่าเสื่อมทำแผน70 % = (งบค่าเสื่อมรพ.=785,000 บาท ปัญหาที่พบ งบค่าเสื่อมทำแผน70 % = (งบค่าเสื่อมรพ.=785,000 บาท งบค่าเสื่อมรพสต. = 337,000 บาท) แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. งบค่าเสื่อมทำแผนในแผนงบลงทุนให้ครบตามที่ได้รับจัดสรร 70% วงเงิน 791,480.64 บาท รพสต. 329,700 บาท) โดยรพ.ต้องทำแผนตามที่ได้รับจัดสรรงบค่าเสื่อมเพิ่ม - 20 % รพ.สต. 401,000 บาท - 10 % รพ. วงเงิน 620,000 บาท โดยให้ปรับแผนในรอบ 6 เดือนหลังประมาณเดือนเมษายน 2561 2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนทางการเงินทั้ง 7 แผนในวาระการประชุม กรรมการบริหารรพ.อย่างน้อยรายไตรมาส

มาตรการดำเนินงานของโรงพยาบาลใน ปี 2561 1. การเพิ่มรายได้โรงพยาบาลมีเป้าหมายและผู้รับผิดชอบชัดเจน 2. การจัดทำแผนบริหารเจ้าหนี้ มีการกำหนดแนวทางในการชำระหนี้การค้าเรียงตามลำดับอายุหนี้ (งานการเงิน ฝ่ายบริหาร) และมีแผนชำระหนี้ปี 61 จำนวน 23,350,000 บาท ค่าตอบแทน ฉ .11 ณ. เดือนธันวาคม 2560 จ่ายถึงเดือนสิงหาคม 2560 และมีแผนจ่ายของเดือนกันยายน 2560 ในเดือนมกราคม 2561 3. การบริหารแผนลูกหนี้ มีผู้รับผิดชอบตามสิทธิ ( สิทธิ uc, ประกันสังคม กลุ่มการพยาบาล, สิทธิกรมบัญชีกลาง ,อปท งานการเงิน ,สิทธิ พรบ กลุ่มงานประกัน) การจัดทำแผนงบลงทุน ในส่วนของรพ.พัสดุดำเนินการจัดหา และส่วนรพ.สต.ให้รพ.สต.เป็นผู้จัดหา มีแผนในการโอนเงินให้ รพ.สต.ภายในเดือนมกราคม 2561 การจัดทำแผนสนับสนุนรพ.สต.โอน fixcost มีแผนโอนให้รพ.สต.ล่วงหน้า 6 เดือน ภายในเดือนมกราคม 2561

ประเด็นการตรวจ ปัญหาที่พบ ด้านรายได้ 1.มากกว่าแผนเกินร้อยละ 5 -รายได้ uc เป็นการจัดสรรล่วงหน้า 6 เดือน ทำให้มากกว่า 2,563,748.03 (ร้อยละ 73.25 %) รับจัดสรร opหลังหักค่าแรง = 4,383,978.97 บาทหารหกเดือนเฉลี่ยรับเดือนละ = 730,000 บาท รับจัดสรร pp หลังหักค่าแรง = 927,088.76 บาท หารหกเดือนเฉลี่ยรับเดือนละ = 154,515 บาท (แผน op =1,291,000+ แผน pp = 325,000 บาท รวมแผน 2 เดือน = 1,616,000 บาท) รวมรับจัดสรรเฉลี่ย 2 เดือน = 1,769,030 บาท ได้มากกว่าแผนเดือนละ 153,030 บาท รวม ล่วงหน้า 4 เดือน = 612,120 บาท) IP ทำแผนรับหลังหักค่าแรงเดือนละ =340,000 บาท ผลงาน IP หลังหัก ค่าแรงตค-พย 60 =215,000 บาท น้อยกว่าแผน 125,000บาท) 2.น้อยกว่าแผน เกินร้อยละ 5 มีดังนี้ -รายได้ EMS จำนวน -21,666.67 (-100%))เนื่องจากยังไม่ได้รับจัดสรร -รายได้ เบิกต้นสังกัด จำนวน -8,834.01 (-40.77%) -รายได้ อปท จำนวน 7,740.80 บาท (-6.36%) รายได้ค่ารักษาและบริการอี่น ๆ จำนวน -64,058.67 บาท (-17.24%) ชำระเงินเอง -รายได้อื่น จำนวน -215,337.12 บาท (-41.02%) พตสยังไม่ได้รับจัดสรรตค-พย=180000 บาท - รายได้งบลงทุน จำนวน 803,506.88 บาท (-50.59%) งบค่าเสื่อม อาคารโรงครัว

ประเด็นการตรวจ แนวทางการแก้ไข 1. สอบทานระบบรายงานข้อมูลทางบัญชีตามนโยบายกระทรวง โดยในเบื้องต้นให้มีการจัดทำ Flow พร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางในการรายงานข้อมูลให้บัญชีและการส่งข้อมูลเรียกเก็บให้ชัดเจน เช่น นโยบายการรับรู้รายได้ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยในรายงานเมื่อจำหน่าย ,ผู้ป่วยนอกรายงานเมื่อสิ้นสุด การรักษา ฯลฯ 2. ผู้รับผิดชอบแต่ละจุดที่หารายได้ควรวิเคราะห์หาสาเหตุที่ไม่เป็นไปตามแผน 3. กำหนดเป็นวาระติดตามในการประชุมคณะกรรมการบริหารรพ.ทุกเดือน ทบทวนแผนประมาณการรายได้ในรอบ 6 เดือน หลัง เดือนเมษายน 2561โดยมีทีมที่เกี่ยวข้องกับการ หารายได้ร่วมวิเคราะห์และวางแผนจากผลงาน 6 เดือนแรก

ด้านค่าใช้จ่าย น้อยกว่าแผน -637,279.64 บาท (ร้อยละ -5.79 %) ปัญหาที่พบ 1.มากกว่าแผนเกินร้อยละ 5 - ค่าใช้จ่ายอื่น จำนวน 366,375 บาท (52.34 %) ค่ารักษาตามจ่ายทำแผน 500,000 บาท รพอ่างทอง เรียกเก็บหนี้ตั้งแต่เดือนพค-กค60 = 930,000 บาท และค่า oprefer เดือน ตค = 70,000 บาท 2.น้อยกว่าแผนเกินร้อยละ 5 - ต้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์ -92,261.21 บาท (-46.91%) - ต้นทุนวัสดุทันตกรรม จำนวน -33,209.37 บาท (-53.85 %) - ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำนวน -87,776.33 บาท ( -47.88 %) - ค่าตอบแทน จำนวน -196,372.33 บาท (-12.81%) พตส.ยังไม่ได้บันทึก - ค่าใช้สอย จำนวน -282,390.73 บาท (-42.36%) บำรุงรักษาปรับอากาศ,ปลวกเรียกเก็บปีละ 2 ครั้ง - ค่าสาธารณูปโภค จำนวน -21,345.23 บาท ( -6.40%) - วัสดุใช้ไป จำนวน 99,065.45 บาท (-44.52%) ทำแผนเรื่องวัสดุบริโภคที่ทำในโรงครัว - ค่าเสื่อมราคา จำนวน 59,406.47 บาท (7.02%) - หนี้สงสัยจะสูญ จำนวน -6,391 บาท (-47.94 %) แนวทางแก้ไข สอบทานระบบรายงานข้อมูลทางบัญชีตามนโยบายกระทรวงในเบื้องต้นให้จัดทำ Flow พร้อมผู้รับผิดชอบและแนวทางในการจัดส่งข้อมูล เช่น นโยบายการรายงานข้อมูลเจ้าหนี้รายงานเมื่อตรวจรับของ,หรือตรวจรับงาน,การรายงานวัสดุคงคลัง เมื่อสิ้นเดือนตามมูลค่า FiFO เป็นต้น 2. ควบคุม กำกับ ติดตามให้เป็นไปตามแผนเพื่อให้การจัดทำแผนมีประสิทธิภาพ กำหนดเป็นวาระติดตามในการประชุมคณะกรรมการบริหารรพ.ทุกเดือน ทบทวนปรับแผน 6 เดือนหลังภายในเมษายน 2561 โดยวิเคราะห์และวางแผนจากผลงาน 6 เดือนแรก

ประเด็นการตรวจ 2.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว) ผลการดำเนินงานไตรมาส 4/60 ผ่าน 4 ตัว ไม่ผ่าน ..3......ตัว ดังนี้ ปัญหา ประสิทธิภาพการทำกำไร เกณฑ์ >=ค่ากลางกลุ่มรพ.ระดับเดียวกันกลุ่ม (รพช.F3ประชากร 15000-25000) ค่ากลางกลุ่มรพ. = 2.38 ผลการดำเนินงานของ รพ. = -2.14 2. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เกณฑ์ >=ค่ากลางกลุ่มรพ.ระดับเดียวกันกลุ่ม (รพช.F3ประชากร15000-25000) ค่ากลางกลุ่มรพ.=2.70 ผลการดำเนินงานของรพ.=0.91 3. การจ่ายชำระเจ้าหนี้การค้า เกณฑ์ cash มากกว่า 0.80 จ่ายภายใน 90 วัน cash น้อยกว่า 0.80 จ่ายภายใน 180 วัน ผลการดำเนินงาน รพ cash = 0.64 จ่ายชำระหนี้ 352.57 วัน

ประเด็นการตรวจ แนวทางแก้ไข ประสิทธิภาพการทำกำไร เกณฑ์ >=ค่ากลางกลุ่มรพ.ระดับเดียวกันกลุ่ม (รพช.F3 ประชากร15,000-25,000) - ทบทวน planfin - กำกับ planfin 2. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เกณฑ์มากกว่าค่ากลางกลุ่มรพ.ระดับเดียวกันกลุ่ม -การใช้สินทรัพย์เดิมให้สร้างมูลค่าโดยการเพิ่ม productivity 3. การจ่ายชำระเจ้าหนี้ - มีแผนบริหารเจ้าหนี้ - จัดซื้อตามแผน - บริหารคงคลัง

ประเด็นการตรวจ 3.คะแนนการประเมิน FAI (เป้าหมาย : คะแนนผลการประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 90) ประกอบด้วย 4 กิจกรรม กิจกรรมการควบคุมภายใน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี กิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง การบริหารต้นทุน ผลการดำเนินงานไตรมาส 4 /60 คะแนนการประเมิน FAI ได้ร้อยละ 92 ปัญหาที่พบ -กิจกรรมควบคุมภายในได้ 3 คะแนน โดยการดำเนินงานเรื่องการควบคุมภายในส่งรายงานการประเมินแบบ 5 มิติไม่ทันภายในกำหนดเวลา แนวทางแก้ไข ทบทวนคณะทำงานแต่ละกิจกรรมให้เป็นปัจจุบัน เพื่อดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนด คณะทำงานมีการประเมินตนเองและรายงานผลการประเมินอย่างน้อยรายไตรมาสตลอดจนนำผลการประเมินไปใช้เพื่อวางแผนและแก้ไขในแต่ละประเด็น และมีการติดตามการแก้ไขตามแนวทางที่กำหนด นำเสนอผลการประเมินรายไตรมาสให้คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลรายไตรมาส

กลุ่มงานประกันสุขภาพ

ประเด็น : ประสิทธิภาพการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม ประเด็น : ประสิทธิภาพการเพิ่มรายได้ 5 กิจกรรม ผลการนิเทศ ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา -มีการกำหนดเป้าหมายเพิ่มรายได้จกาปี 60 ร้อยละ 10 -ดำเนินการ 1-2 ไตรมาสสรุปผลงานรายกิจกรรม ปรับเป้าหมายใหม่ เพื่อให้ผลงานภาพรวมได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 -ผลงาน 3 เดือน ได้มากกว่าเป้าหมาย 2 กิจกรรม คือ Fitness และกายภาพบำบัด ได้น้อยกว่าเป้าหมาย 3 กิจกรรม คือทันตกรรม แพทย์แผนไทย และห้องพิเศษ ภาพรวมน้อยกว่าเป้าหมาย = 47,293.35 บาท -มีการกำหนดเป้าหมายการเพิ่มรายได้ในกลุ่มประกันสังคม กิจกรรมทันตกรรม(อยู่ระหว่างการกำหนดแนวทางที่ชัดเจน) -ผลการดำเนินงานไม่ได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากมีการกำหนด เป้าหมายเพิ่มแต่มาตรการการดำเนินงานเป็นของปี 2560 ไม่ได้กำหนดมาตรการใหม่ -ผู้รับผิดขอบทุกกิจกรรมร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคและหาแนวทางแก้ไข ร่วมกันเพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาสมต่อไป

เป้าหมายการเพิ่มรายได้ปีงบประมาณ 2561 โรงพยาบาลสามโก้ จังหวัดอ่างทอง โรงพยาบาลสามโก้ จังหวัดอ่างทอง ลำดับ กิจกรรม รายได้ เป้าหมาย ปี 61 ผลงาน ที่เพิ่มจาก ปี 60 ปี 60 เพิ่ม 10 % ต่อเดือน ต่อปี 1 Fitness 519,480.00 51,948.00 47,619.00 571,428.00 2 กายภาพบำบัด 357,180.00 35,718.00 32,741.50 392,898.00 3 ทันตกรรม 1,060,924.00 106,092.40 97,251.37 1,167,016.40 4 แพทย์แผนไทย 1,067,250.00 106,725.00 97,831.25 1,173,975.00 5 ห้องพิเศษ 1,082,400.00 108,240.00 99,220.00 1,190,640.00   รวม 4,087,234.00 408,723.40 374,663.12 4,495,957.40

โรงพยาบาลสามโก้ จังหวัดอ่างทอง เดือนตุลาคม 2560 - ธันวาคม 2560 (3 เดือน) ลำ ดับ กิจกรรม สรุปผลการดำเนินงาน รายได้ที่เพิ่ม 3 เดือน รายได้ที่เพิ่ม เทียบเป้าหมายการเพิ่ม 3 เดือน เป้าหมาย ผลงานรวม ผลงานที่เพิ่ม มากกว่า/น้อยกว่า  จำนวน(บาท) 1 Fitness 142,857 234,800 - มากกว่า  91,943 2 กายภาพบำบัด 98,224.50 106,800 มากกว่า 8,575.50 3 ทันตกรรม 291,754.10 184,166 น้อยกว่า - 107,588.10 4 แพทย์แผนไทย 293,493.75 265,130 - 28,363.65 5 ห้องพิเศษ 297,660 285,800 - 11,860   รวม 1,123,989.35 1,076,696 - 47,293.35

จบการนำเสนอ