การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการดำเนินงาน PM 18 การบริหารจัดการโครงการ คณะกรรมการสุขศึกษาและ ประชาสัมพันธ์ ปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 9 กันยายน 2558.
Advertisements

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
โดย ผู้ช่วยเลขาธิการ คณะกรรมการ ป. ป. ช. ( นายอุทิศ บัวศรี )
โดย มณเฑียร ม่วงศรีศักดิ์. เขต สุจริต สพฐ. ใส สะอาด.
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.
สุจริตตามรอยพ่อ ขอทำดีเพื่อแผ่นดิน
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
การพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้าง
Office of The National Anti-Corruption Commission
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ขั้นตอนการชำระเงินสมทบ กองทุนประกันสังคม ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การเปิดชั้นข้อมูล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ.
ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ITA การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
ขั้นตอนการร้องเรียน.
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
ITA Integrity and Transparency Assessment
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
ธรรมาภิบาลในภาครัฐ โดย สุธรรม ส่งศิริ.
มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับอำเภอรอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561 อำเภอเมืองอ่างทอง วันที่ 11 มิถุนายน 2561.
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
จังหวัดสมุทรปราการ.
แนวทางการดำเนินงาน โครงการ กองทุนแม่ของแผ่นดิน
การบริการพื้นฐานของห้องสมุด
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
การบริหารงานและการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
รายวิชา IFM4301 การจัดการเครือข่ายทางสังคม 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
บทที่ 1 ระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) 1.1 ความหมาย
วิชา วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
EB10 (2) มีผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจำนวน 3 แห่ง
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานของภาครัฐ
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
(ร่าง) แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
EB10 (2) มีผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
CGI Learning Center สถิติการปฏิบัติงาน Fact & Figures
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
การรายงานผลการดำเนินงาน
ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน/สำนักงาน ป.ป.ท.
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
Introduction to Structured System Analysis and Design
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๘ ผ่านระบบวีดิทัศน์ทางไกลของกระทรวงมหาดไทย โดย นางฉวีวรรณ นิลวงศ์ นักวิชาการยุติธรรมชำนาญการพิเศษ สำนักงาน ป.ป.ท

ประวัติผู้ชี้แจง นางฉวีวรรณ นิลวงศ์ การศึกษา ปริญญาโท สาขานโยบายและการวางแผน จากมหาวิทยาลัย เกริก ปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง วุฒิบัตร จากมหาวิทยาลัยมิสซูรี่ ณ เมืองโคลัมเบีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้รับทุนจาก กรมการพัฒนาชุมชน ตามโครงการ Leadership Exchange Program ประวัติการทำงาน ๑. ส่วนท้องถิ่น เคยดำรงตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ๗ แห่ง ได้แก่ ( เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาลเมืองระนอง เทศบาลเมืองสระบุรี และเทศบาลนครรังสิต ) ๒. ส่วนภูมิภาค เคยดำรงตำแหน่ง เจ้าพนักงานปกครอง ( ปลัดอำเภอ ) อำเภอสังคม จังหวัดหนองคาย ๓. ส่วนกลาง เคยดำรงตำแหน่ง นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง และ นักวิชาการยุติธรรม สำนักคุ้มครองพยาน กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ  ปัจจุบัน ตำแหน่ง นักวิชาการยุติธรรม ชำนาญการพิเศษ สำนักคุ้มครองและป้องกัน สำนักงาน ป.ป.ท.

กรอบแนวคิดการประเมิน ITA ประกอบด้วย ๕ ดัชนี ๑. ความโปร่งใส (Transparency) ๒. ความพร้อมรับผิด (Accountability) ๓. คุณธรรมการให้บริการของหน่วยงาน (Integrity in Service Delivery) ๔. วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร (Integrity Culture) ๕. คุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน (Work Integrity)

แบบการประเมิน ITA มี ๓ แบบ ๑. แบบสำรวจ Internal : ITA ๒. แบบสำรวจ External : ITA ๓. แบบสำรวจ Evidence-based : ITA

เกณฑ์การประเมิน ITA แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ ๕ ค่าคะแนนระหว่าง 80 – 100 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานสูงมาก ระดับที่ ๔ ค่าคะแนนระหว่าง 60 – 79.99 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานสูง ระดับที่ ๓ ค่าคะแนนระหว่าง 40 – 59.99 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานปานกลาง ระดับที่ ๒ ค่าคะแนนระหว่าง 20 – 39.99 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานต่ำ ระดับที่ ๑ ค่าคะแนนระหว่าง 0 – 19.99 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานต่ำมาก

ผลการประเมิน ITA ส่งผลให้หน่วยงานที่เข้ารับการประเมินและส่ง ประกาสผลมอบรางวัล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ จำแนกเป็น ๓ กลุ่ม ป.ป.ช. บริหารราชการส่วนกลาง ๑๔๗ กรม บริหารราชการ ส่วนภูมิภาค ๗๖ จังหวัด ผลคะแนนจาก ๓ หน่วย คือ 1. สำนักงานจังหวัด + 2. สาธารณสุขจังหวัด + 3. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด บริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น ๒๘๒ แห่ง จำแนกเป็น ๓ กลุ่ม ๑. อบจ. ๒. เทศบาลนคร รวม กทม. เมืองพัทยา ๓. เทศบาลเมือง มท. กพร. เป็นตัวชี้วัดตามคำรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘

การแจ้งผลคะแนนประเมิน ITA สำหรับ กรม และจังหวัด รอบแรก กำหนดแจ้งผลการประเมิน ภายใน ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ หากไม่เห็นด้วยกับผลคะแนน หน่วยงานต้องอุทธรณ์ภายใน ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ รอบสุดท้าย แจ้งผลการประเมิน ภายใน มกราคม ๒๕๕๙ กรม/จังหวัด ตอบรับทราบผลการประเมิน ส่งกลับสำนักงาน ป.ป.ท. ภายใน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

การแจ้งผลคะแนนประเมิน ITA พร้อมข้อเสนอแนะสำหรับ อปท. รอบแรก กำหนดแจ้งผลการประเมิน ภายใน ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ หากไม่เห็นด้วยกับผลคะแนน หน่วยงานต้องอุทธรณ์ภายใน ๑๕ มกราคม ๒๕๕๙ รอบสุดท้าย แจ้งผลการประเมิน ภายใน เมษายน ๒๕๕๙ อปท. ตอบรับทราบผลการประเมินส่งกลับมาที่สำนักงาน ป.ป.ท. ภายใน พฤษภาคม ๒๕๕๙

ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ

แบบสำรวจ Evidence – based คะแนนเต็ม ๑๒๐ คะแนน ( ๑๑๐ คะแนน) EB ๑๒ (๑๐ คะแนน) เป็นข้อมูลที่ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ถูก สำนักงาน ป.ป.ช. หรือสำนักงาน ป.ป.ท. ชี้มูลความผิด

คำถามในแบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ คำถามในแบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สามารถจำแนกออกเป็น ๘ ประเด็น (มี ๑๑ EB ๔๒ ข้อย่อย) ดังนี้ ๑. การจัดชื้อจัดจ้าง EB ๑ – EB ๓ ๒. มาตรฐานการปฏิบัติงาน EB ๔ ๓. ความเป็นธรรม/ไม่เลือกปฏิบัติ EB ๕ ๔. การมีส่วนร่วมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย EB ๖ EB ๔ - EB ๗ คำถามเกี่ยวกับภารกิจหลัก ๕. การเข้าถึงข้อมูล EB ๗ ๖. ระบบการร้องเรียนขององค์กร EB ๘ ๗. ผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ ๘. การดำเนินการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต EB ๑๐- EB ๑๑ ข้อคำถามที่ไม่ได้ระบุภารกิจหลัก ให้ใช้การดำเนินงานภาพรวมของหน่วยงาน

ประเด็นที่ ๑ เรื่อง การจัดชื้อจัดจ้าง ( EB ๑ - ๓ จำนวน ๑๑ ข้อ ) (๑) รายงานผลการจัดชื้อจัด จ้าง ( ๒ คะแนน) (๒) รายงานวิเคราะห์ผลการจัดชื้อจัดจ้าง (๓ คะแนน) (๓) วิเคราะผลการจัดชื้อจัดจ้างลักษณะดังนี้ (๓.๑) ร้อยละของโครงการจำแนกตามวิธีการจัดชื้อจัดจ้าง (๑ คะแนน) (๓.๒) งบประมาณ จำแนกตามวิธีการจัดชื้อจัดจ้าง ) (๑ คะแนน) พ.ศ. ๒๕๕๗ การจัดชื้อจัดจ้าง งบประมาณปี พ.ศ.๒๕๕๘ นำผลการวิเคราะห์การจัดชื้อจัดจ้างปีงบประมาณที่ผ่านๆ มา มาปรับปรุงแผนปฎิบัติการจัดชื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ EB ๓ (๔) ( ๓ คะแนน) การเผยแพร่ข้อมูลการ จัดชื้อจัดจ้างอย่างเป็นระบบ ชื่อโครงการ/งบประมาณ/ ผู้ชื้อซอง/ผู้ยื่นซอง/ผู้ได้รับคัดเลือก (โครงการที่ดำเนินการจัดชื้อจัดจ้างแล้ว ณ วันที่หน่วยงานส่งข้อมูลตามแบบ Evidence Based ให้ที่ปรึกษา) EB ๑ (๒) (๕ คะแนน) มีการประกาศ เผยแพร่ข้อมูลผลการจัดชื้อจัดจ้างแต่ละโครงการ (ผ่าน Web หรือสื่ออื่น ๆ ) (๑)การจัดชื้อจัดจ้างตามระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด (๒) หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือก (๓) การคำนวณราคากลาง (๔) รายชื่อผู้เสนองาน/ผู้มีสิทธิคัดเลือก (๕) รายงานผลการจัดชื้อจัดจ้างผระบุวิธีจัดชื้อจัดจ้าง+เหตุผลที่ใช้ตัดสินในการจัดขื้อจัดจ้าง) ( กรณีจัดชื้อจัดจ้างมากกว่า ๕ โครงการให้แสดงโครงการที่มีงบประมาณสูงสุด กรณีมีน้อยกว่า ๕ โครงการให้จัดส่งทั้งหมด ) EB (๒) (๑๐ คะแนนข้อละ ๒ คะแนน) ปะกาศเผยแพร่แผนปฏิบัติการจัดชื้อจัดจ้าง ( ตามที่ คตง กำหนด ) ( ภายใน ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ ) EB๑ (๑) (๕ คะแนน)

แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง ตามข้อ EB ๑ (๑) หมายถึง แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามที่ คตง. กำหนด ซึ่ง คตง. กำหนดให้จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างเฉพาะงบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ และที่ดินสิ่งก่อสร้าง) ค่าครุภัณฑ์ ตั้งแต่ 100,000 บาท ขึ้นไป (ใช้กับทุกหน่วยงาน) ดินและสิ่งก่อสร้าง - ตั้งแต่ 2,000,000 บาท ขึ้นไป (หน่วยงานระดับกรม และกรุงเทพมหานคร) - ตั้งแต่ 1,000,000 บาท ขึ้นไป (ส่วนราชการประจำจังหวัด และ อปท. (อบจ./เทศบาล/เมืองพัทยา) กรณีที่หน่วยงานไม่อยู่ในข่ายที่ต้องจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามที่ คตง. กำหนด ให้เขียนคำอธิบายพร้อมเหตุผลในช่องอื่นๆ (โปรดระบุ) ในแบบแบบสำรวจ Evidence - based

EB 1 (2) มีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างใน ปี พ.ศ. 2558 ดังต่อไปนี้หรือไม่ ๒.๑ ชื่อโครงการ ๒.๒ งบประมาณ ๒.๓ ผู้ซื้อซอง ๒.๔ ผู้ยื่นซอง ๒.๕ ผู้ได้รับคัดเลือก ในการตอบข้อคำถามนี้ หมายถึง การจัดซื้อจัดจ้างของบประมาณทุกประเภท เช่น งบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้าง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ฯลฯ กรณีที่โครงการใดไม่สามารถมีหลักฐานครบตามข้อ ๒.๑ - ๒.๕ ให้ชี้แจงเหตุผลประกอบ เช่น กรณี งบรายจ่ายอื่น การจ้างที่ปรึกษาด้วยวิธีตกลง จะไม่สามารถตอบข้อ ๒.๓ และ ๒.๔ ได้ สำหรับการตอบข้อคำถามข้อนี้ ไม่ต้องรอจนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ให้หน่วยรับประเมินจัดทำข้อมูลเท่าที่มีการจัดซื้อ จัดจ้างแล้วเสร็จในช่วงไตรมาสที่ ๒ หรือ ๓ ของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ ลงเผยแพร่บนเว็บไซด์ของหน่วยงาน

ข้อคำถาม EB ๒ การเปิดเผยผลข้อมูลการจัดชื้อจัดจ้างในปีงบประมาณพ. ศ งบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้างในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ด้วย โดยกรณีที่หน่วยงานมีการจัดซื้อจัดจ้างจำนวนมากกว่า ๕ โครงการ ในปี พ.ศ. 2558 ให้คัดเลือกเพียง 5 โครงการที่มีงบประมาณสูงสุด ที่สามารถแสดงหลักฐานได้ครบถ้วนตามข้อ (๑) – (๕) หากหน่วยงานมีการจัดซื้อจัดจ้างไม่ถึง ๕ โครงการ ให้แสดงหลักฐานของทุกโครงการ กรณีโครงการใดใช้วิธีการจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ใช่วิธีประกวดราคาหรือสอบราคา ซึ่งทำให้ไม่สามารถตอบได้ทุกข้อคำถามให้หน่วยงานชี้แจงเหตุผลประกอบ เช่น กรณีการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง เป็นต้น สำหรับการตอบข้อคำถามข้อนี้ ไม่ต้องรอจนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ให้หน่วยรับประเมินจัด ทำข้อมูลเท่าที่มีการจัดซื้อจัดจ้างแล้วเสร็จในช่วงไตรมาสที่ ๒ หรือ ๓ ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยพิจารณาตามความเหมาะสมของงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรของแต่ละหน่วยงานที่มีงบประมาณการจัดชื้อจัดจ้างสูงสุด

EB ๒ (๓) มีการประกาศวิธีการคำนวณราคากลางของแต่ละโครงการหรือไม่ จัดจ้างและเหตุผลที่ใช้ในการตัดสินผลการจัดชื้อจัดจ้าง หรือไม่

ข้อ EB ๓ วิเคราะห์แผนและกระบวนการจัดชื้อจัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ พ   การจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดชื้อจัดจ้างประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ให้แสดงหลักฐานรายงานการวิเคราะห์โดยทำการวิเคราะห์ทุกรายจ่ายที่มีการจัดชื้อจัดจ้าง ทั้งงบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้างในปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๕๗ ด้วย

ข้อมูลการจัดชื้อจัดจ้างในการตอบข้อ EB ๑ (๒) – EB ๓ หมายถึง การจัดซื้อจัดจ้างของบประมาณทุกประเภท ได้แก่ งบดำเนินงาน งบลงทุน (ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และงบรายจ่ายอื่น รวมทั้งเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ งบพัฒนาจังหวัด งบกลุ่มจังหวัด ฯลฯ รวมทั้งงบประมาณที่มีการกันไว้จ่ายเหลื่อมปีที่มีการจัดซื้อจัดจ้างในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ด้วย ยกตัวอย่างกรณี ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) ได้รับจัดสรรงบพัฒนาจังหวัด หรืองบกลุ่มจังหวัด ในการจัดชื้อจัดจ้าง เป็นอำนาจอนุมัติของ ผวจ. หรือ ผู้ที่ผวจ.มอบอำนาจ แต่กระบวนการจัดชื้อจัดจ้าง ทสจ. เป็นหน่วยดำเนินการทั้งหมด เพราะนั้น ทสจ.ต้องนำงบ ในส่วนนี้มาเป็นข้อมูลในการตอบคำถามของ EB ๑ (๒) – EB ๓ ด้วย (*** แก้ไขเดิมที่เคยชี้แจงว่า ไม่รวมเป็นข้อมูลจัดชื้อจัดจ้างของ ทสจ.)

ประเด็นคำถามเกี่ยวกับเกี่ยวกับ ภารกิจหลัก EB ๔-EB ๗ จำนวน ๑๔ ข้อ มาตรฐานการปฏิบัติงาน EB ๔ ภารกิจหลัก การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย EB ๖ การเข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน EB ๗

แนวทางการตอบข้อคำถาม EB 4- EB 7 เลือกภารกิจหลักของหน่วยงานมาเพียง ๑ ภารกิจหลัก เพื่อตอบข้อคำถาม EB ๔-EB ๗ หากข้อใด ที่หน่วยยังไม่มี ก็สามารถดำเนินการในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ เพื่อมาประกอบหลักฐาน

ประเด็นที่ ๒. มาตรฐานการปฏิบัติงานตามภารกิจหลัก EB ๔ คู่มือ/แนวทาง/หนังสือสั่งการ เพื่อให้เกิดมาตรฐานการปฏิบัติงานตาม ภารกิจหลัก (๔ คะแนน) EB ๔ (๒) รายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือ/แนวทาง/หนังสือสั่งการตาม ภารกิจหลัก (๖ คะแนน)

ประเด็นที่ ๓. ความเป็นธรรมไม่เลือกปฎิบัติตามภารกิจหลัก EB ๕ ระบบ เกณฑ์ หรือเครื่องมือการปฏิบัติงานที่มีความเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ เป็นมาตรฐานเดียวกัน โปร่งใส มีประสิทธิภาพ ภารกิจหลัก (๕ คะแนน) EB ๕(๒) มีการแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือ การให้บริการ อัตราค่าบริการ ( ถ้ามี) ระยะเวลาให้ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทราบ อย่างชัดเจน ภารกิจหลัก (๒ คะแนน) EB ๕(๓) ระบบการป้องกันหรือตรวจสอบเพื่อป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ (ระบบ /ระเบียบ ฯลฯ ) ภารกิจหลัก (๓ คะแนน)

ประเด็นที่ ๔. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในภารกิจหลักของหน่วยงาน EB ๖ ( รวมถึงประชาชน/หน่วยงานที่เป็นผู้รับบริการตามภารกิจหลัก ) ภารกิจหลัก ร่วมปรับปรุง แก้ไขพัฒนาโครงการ/การปฏิบัติราชการอย่างต่อเนื่องเมื่อสิ้นสุดโครงการภารกิจหลัก EB ๖ (๕) (๒ คะแนน) ร่วมตรวจสอบติดตามประเมินผลตามโครงการ/การพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการปฏิบัติราชการภารกิจหลัก EB ๖ (๔) (๒ คะแนน) ร่วมดำเนินการ ตามโครงการ/การพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการปฏิบัติราชการภารกิจหลัก EB ๖ (๓) (๒ คะแนน) ร่วมการจัดทำ แผน/โครงการ/การพัฒนาการปฏิบัติราชการ ภารกิจหลัก EB ๖ (๒) (๒ คะแนน) ร่วมแสดงความคิดเห็น -เกี่ยวกับการปฏิบัติราชการหรือปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติราชการในหน่วยงาน ภารกิจหลัก EB ๖ (๑) (๒ คะแนน)

ประเด็นที่ ๕. การเข้าถึงข้อมูล ตามภารกิจหลักของหน่วยงาน EB ๗ (๒ คะแนน) มีข้อมูลตามภารกิจหลัก ที่กฎหมายกำหนดทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือสื่อสังคม ( Social Media) EB ๗ (๒) (๔ คะแนน) ระบบการให้ข้อมูลตามภารกิจหลัก ผ่านหมายเลขโทรศัพท์ ๗ หลักหรือ Call Center โดยมีระบบตอบรับ ( เวลาทำการ) EB ๗ (๓) (๒ คะแนน) เผยแพร่ข้อมูลตามภารกิจหลัก ทางสื่อ ( ๒ คะแนน ) สื่อเอกสาร (นสพ. หรือวารสารหรือจุลสารหรือแผ่นพับ (๑ คะแนน) สื่ออื่น ๆ โทรทัศน์ หรือวิทยุหรือสื่อสังคม อื่น ๆ (๑ คะแนน ) EB ๗ (๔)

ประเด็นคำถามเกี่ยวกับภารกิจหลัก   ในการตอบคำถามที่เกี่ยวกับภารกิจหลัก ให้ เลือก ภารกิจ ของหน่วยงาน ๑ ภารกิจ เพื่อเป็นแกนหลักในการตอบคำถาม ในทุกข้อที่ถามที่ถามถึงภารกิจหลัก หากในข้อคำถามใดหน่วยงานยังไม่ได้ จัดทำ หรือดำเนินการก็สามารถดำเนินการได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประเด็นคำถามเกี่ยวกับภารกิจหลัก (๑.) มาตรฐานการปฏิบัติงาน (๒) ความเป็นธรรมไม่เลือกปฏิบัติ (๓) การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (๔) การเข้าถึงข้อมูล เช่น เทศบาล เลือก ภารกิจของสำนักการช่าง เกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร ท่านต้องเอาภารกิจการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร มาตอบคำถามตั้งแต่ ข้อ EB ๔ – ข้อ EB ๗ ยกตัวอย่างหลักฐานเพื่อประกอบข้อคำถาม ดังนี้ EB ๔ (๑) คู่มือกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้าง อาคาร EB ๔ (๒) เอกสารรายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือเกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร  EB ๕ (๑) ระบบ เกณฑ์ เครื่องมือ ที่แสดงให้เห็นว่า การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร ไม่เลือกปฏิบัติ เป็นมาตรฐานเดียวกัน โปร่งใส มีประสิทธิภาพ EB ๕ (๒) การเผยแพร่ แผนผัง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน อัตราค่าบริการ ระยะเวลาในการดำเนินเกี่ยวกับการขออนุญาตใบอนุญาตปลูกสร้างอาคาร โดย Print Screen หน้า Website ที่มีระบุวัน/เดือน/ปี ที่ทำการเผยแพร่ มาเพื่อประกอบเป็นหลักฐาน

    ตัวอย่างการเลือกภารกิจหลักของ ทสจ. (เลือกมาจากอำนาจหน้าที่ เพียง ๑ ภารกิจ - ส่วนทรัพยากรธรรมชาติ มีอำนาจหน้าที่ การอนุญาต  ควบคุม  กำกับ  ดูแล  โรงงานแปรรูปไม้  โรงค้าไม้แปรรูป  โรงค้าสิ่งประดิษฐ์ การอนุญาต ควบคุม กำกับดูแลการมีและใช้เลื่อยโซ่ยนต์ การอนุญาตการขึ้นทะเบียนและการตัดฟันไม้สวนป่าเอกชน การอนุญาตการนำไม้และของป่าเคลื่อนที่ การอนุญาตอื่นๆ ตามกฎหมายที่ผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับมอบอำนาจ ประสานการขออนุญาตใช้ที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ จัดทำแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติของจังหวัด ประสานการแก้ไขปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าและการทำลายทรัพยากรป่าไม้ในระดับจังหวัด ประสานการสำรวจการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรณีในระดับจังหวัด ส่งเสริมเผยแพร่และสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

  ตัวอย่างการเลือกภารกิจหลักของ ทสจ. (เลือกมาจากอำนาจหน้าที่ เพียง ๑ ภารกิจ - ส่วนทรัพยากรน้ำ มีอำนาจหน้าที่ ประสานการจัดทำแผนการจัดการน้ำของจังหวัด ประสานการเผ้าระวัง  ตรวจสอบ  กำกับ  ดูแล  ส่งเสริม  เผยแพร่บำรุงรักษา  และระบบเดือนภัยเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำในระดับจังหวัด กำกับ  ดูแลกิจการประปาสัมปทานของน้ำผิวดินในระดับจังหวัด อนุญาต  ควมคุม  กำกับ  ดูแล  การประกอบกิจการน้ำบาดาล ประสานการจัดการน้ำบาดาลเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้งของจังหวัด กำกับ  ดูแล  กิจการประปาสัมปทานของน้ำบาดาลในระดับจังหวัด  

ประเด็นที่ ๖ ระบบการร้องเรียนขององค์กร EB ๘ ( ๖ คะแนน ข้อละ ๒ คะแนน) อาจทำในรูปคู่มือ/แนวปฏิบัติ โดยมีรายละเอียดตามนี้ (๑) ขั้นตอน/กระบวนการ/การตอบสนองหรือรายงานให้ผู้ร้องทราบ (๒) กำหนดช่องทางการร้องเรียน (๓) กำหนดหน่วยงาน/ผู้รับผิดชอบ EB ๘ (๔) (๒ คะแนน) สรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน เรื่องทั่วไป+จัดชื้อจัดจ้าง (ระบุปัญหา/อุปสรรค +แนวทางแก้ไข) เสนอผู้บริหาร EB ๘ (๕) (๒ คะแนน) มีการเผยแพร่ผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียน จัดชื้อจัดจ้าง ระบุปัญหา/อุปสรรค+แนวทางแก้ไข **นำไปเผยแพร่ในเว็ปไซต์ ของสำนักงาน

ผ่าน ๆ มา แต่ยังมีการดำเนินการต่อในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ข้อคำถาม EB ๘ หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเรื่องร้องเรียนอย่างไร เรื่องร้องเรียน หมายถึง เรื่องร้องเรียนทั่วไป และเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดขื้อจัดจ้าง เรื่องร้องเรียน : เรื่องร้องเรียนทั่วไป + เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดขื้อจัดจ้าง เรื่องร้องเรียน : คือเรื่องร้องเรียนที่มีการดำเนินการในห้วงปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เช่นการสอบข้อเท็จจริง ตั้งกรรมการสอบสวน เป็นต้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่มีผู้มาร้องเรียน หรือ หน่วยงานอื่นส่งเรื่องมา เช่น สตง. เพื่อให้หน่วยงานดำเนินการ อาจเป็นเรื่องที่ยังอยู่ระหว่างดำเนินการจากเรื่องร้องเรียนของปีที่ ผ่าน ๆ มา แต่ยังมีการดำเนินการต่อในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำหรับตอบข้อคำถามของ EB ๘ (๔) และ (๕)

ข้อคำถาม EB ๘ (๔) การเผยแพร่ผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียน การจัดชื้อจัดจ้าง พร้อมระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข แนวทางตอบ ให้แสดงหลักฐานการเผยแพร่ผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนจัดชื้อจัดจ้าง พร้อมระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข หากกรณีหน่วยงานไม่มีเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดชื้อจัดจ้าง ให้หน่วยงานเผยแพร่ถึงผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการจัดชื้อจัดจ้าง (ระหว่างเดือน .... ถึงเดือน.... ) หน่วยงานท่าน ว่าไม่มี ร้องเรียนเกี่ยวกับการจัดชื้อจัดชื้อจัดจ้าง ข้อคำถามนี้ไม่ต้องรอจนสิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ หน่วยงานสามารถสรุปก่อนได้โดยระบุ ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ – เดือน ......๒๕๕๘  

ข้อคำถาม EB ๘ (๕) รายงานสรุปผลการดำเนินการเรื่องร้องเรียนทั่วไป พร้อมระบุปัญหา อุปสรรค ให้แสดงหลักฐานการรายงานผลเรื่องร้องเรียนทั่วไป พร้อมระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข (ระหว่างเดือน .... ถึงเดือน.... ) ข้อคำถามนี้ไม่ต้องรอจนสิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ หน่วยงานสามารถสรุปก่อนได้โดยระบุ ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ – เดือน ......๒๕๕๘

ประเด็นที่ ๗ เรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ ข้อคำถาม ๗ ข้อ ให้ความรู้เรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน ประชุม/อบรม EB ๙ (๑) (๑ คะแนน) จัดทำคู่มือ/ประมวลจริยธรรมเกี่ยวกับเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ (๒) (๑ คะแนน) รายงานผลการให้ความรู้ ตาม EB ๙ (๒) EB ๙ (๓) (๑ คะแนน) รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อป้องกันผลประโยชน์ ทับซ้อน + ข้อเสนอแนะ EB ๙ (๖) ( ๒ คะแนน) นำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงระบบการทำงาน EB ๙ (๗) (๒ คะแนน) ปรับปรุงระเบียบ/ขั้นตอนเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน EB ๙ EB ๙ (๔) (๑ คะแนน) แนวทางปฏิบัติในการตรวจสอบบุคลากรถึงความเกี่ยวข้องกับ ผู้เสนองานในการจัดชื้อจัดจ้าง EB ๙ (๕) (๒ คะแนน)

ประเด็นที่ ๘ การดำเนินการด้านป้องกันและปราบปรามการทุจริต EB ๑๐ – EB ๑๑ วิเคราะห์แผนปฏิบัติการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (๔ คะแนน) EB ๑๐ (๒) ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ ( ขอผลการดำเนินการตามแผนอย่างน้อย ๑ โครงการ ) (๓ คะแนน) EB ๑๐ (๓) จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ (๓ คะแนน) แผน EB ๑๐ การรวมกลุ่ม EB ๑๑ รวมกลุ่มของเจ้าหน้าที่ เพื่อการบริหารงานที่โปร่งใส *รายชื่อ/วัตถุประสงค์/แนวทางการดำเนินงาน EB ๑๑ (๑) (๕ คะแนน) *ผลการดำเนินงานของกลุ่มที่แสดงถึงความพยายามที่จะปรับปรุงการบริหารหน่วยงานให้มีความโปร่งใสยิ่งขึ้น EB ๑๑ (๒) (๕ คะแนน)

กำหนดการที่หน่วยงานต้องจัดส่ง แบบตอบข้อคำถาม พร้อมเอกสาร หลักฐาน ประกอบข้อคำถาม ตามแบบ Evidence- based ส่งภายในวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ ส่งให้กับที่ปรึกษาโดยตรง ( ไม่ต้องสำเนาส่ง ป.ป.ท.)

EB ๑๒ การถูกชี้มูลความผิดของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน กรณี มีเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เข้ารับการประเมิน ถูกชี้มูลจากสำนักงาน ป.ป.ช. ๑ คดี ๑ ราย จะถูกหักคะแนน ๔ คะแนน ๒ คดีขึ้นไป หรือ ๑ คดี ๒ ราย จะถูกหักคะแนน ๘ คะแนน ถูกชี้มูลจากสำนักงาน ป.ป.ท. ๑ คดี ๑ ราย จะถูกหักคะแนน ๑ คะแนน สำนักงานปป.ป.ช. + สำนักงาน ป.ป.ท.จะเก็บข้อมูลจากเรื่องร้องเรียนที่ถูก ชี้มูลความผิดในห้วงเดือน กรกฎาคม ๒๕๕๗ – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๘

ปัญหาที่พบของการตอบแบบสำรวจ Evidence-based ๑. ตอบบางข้อ ส่วนใหญ่ตอบว่า ไม่มี ส่วนใหญ่ไม่ตอบข้อ EB ๓ (๒) การจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดชื้อจัดจ้างประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๒. ส่วนใหญ่จะตอบเฉพาะเรื่องจัดชื้อจัดจ้าง แต่ข้ออื่น ๆ ตอบว่า ไม่มี ทั้งหมด ๓. ไม่มีการเลือกภารกิจหลัก เพื่อมาตอบข้อ EB ๔-EB ๗ ๔. ส่งแต่แบบสำรวจที่ตอบคำถามมาแล้ว แต่ไม่ส่งเอกสาร หลักฐานประกอบ ๕. บางหน่วยส่งผิด ส่งไป สำนักงาน ป.ป.ช.

Website www.pacc.go.th เลือก link ITA ข้อมูล/ คู่มือ /คำอธิบายแบบสำรวจ ITA (Evidence based) / และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน ITA ให้ศึกษารายละเอียดใน จาก Website ของสำนักงาน ป.ป.ท. Website www.pacc.go.th เลือก link ITA

แบบสำรวจ Evidence based /การอุทธรณ์ผล/หรือการจัดส่งเอกสาร ข้อมูลเกี่ยวกับ ITA ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ให้หน่วยงานจัดส่งให้กับที่ปรึกษา โดยตรง (เพื่อความรวดเร็ว) ที่อยู่ สำนักงานโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานหน่วยงานภาครัฐ ๔๕๗/๓๓ ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๓๕ แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๑๒ ๓๒๘๔ โทรสาร ๐ ๒๘๖๔ ๙๓๒๘

การประสานงาน ITA กับ สำนักงาน ป.ป.ท. นางฉวีวรรณ นิลวงศ์ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๕ ๔๘๕ ๗๖๒๗ สำนักคุ้มครองและป้องกัน สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม (สำนักงาน ป.ป.ท.) เลขที่ ๙๙ หมู่ ๔ อาคารซอฟต์แวร์ปาร์ค ชั้นที่ ๓๑ ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบลคลองเกลือ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๒๐ เบอร์โทรศัพท์ / โทรสาร โทรศัพท์ ๐๒–๕๐๒–๖๖๗๐ ต่อ ๑๔๐๑ , ๑๔๐๖ , ๑๔๑๒ โทรสาร ๐๒ ๕๐๒ -๖๖๖๒ (ระบุสำนักคุ้มครองและป้องกัน) Website www.pacc.go.th เลือก link ITA

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ